Publication: การเปรียบเทียบความหมายระหว่างอักษรคันจิของญี่ปุ่นและอักษรจีน
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์
Humanities and Social Sciences
Humanities and Social Sciences
Volume
35
Issue
1
Edition
Start Page
43
End Page
67
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การเปรียบเทียบความหมายระหว่างอักษรคันจิของญี่ปุ่นและอักษรจีน
Alternative Title(s)
A Comparison of Meaning between Kanji of Japan and the script of Chinese
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความหมายของอักษรคันจิของญี่ปุ่นและอักษรจีน โดยเลือกเฉพาะคู่อักษรคันจิของญี่ปุ่นและอักษรจีนแบบย่อที่มีรูปคำเหมือนกัน และยึดความหมายของอักษรคันจิเป็นหลัก อักษรคันจิของญี่ปุ่น 98 อักษรมาจากหนังสือ????? : Shokyuu Nihongo และนำความหมายที่รวบรวมไว้ในพจนานุกรมไทย-จีน โดยเธียรชัย เอี่ยมวรเมธ(2551) และพจนานุกรมKodansha’s Compact Kanji Guide ฉบับภาษาไทย(2545)มาเป็นหลักในการเปรียบเทียบ ผลการศึกษาพบว่า จากการเทียบความหมายในพจนนุกรม แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะคือ ความตรงกัน ความหมายต่าง และความหมายที่อักษรจีนมีความหมายกว้างกว่าอักษรคันจิของญี่ปุ่น อักษรที่มีความหมายตรงกันมีจำนวน 6 คู่ คิดเป็นร้อยละ 6.12 อักษรที่มีความหมายต่างมีจำนวน 1 คู่ คิดเป็นร้อยละ 1.02 และอักษรจีนที่มีความหมายกว้างกว่ามีจำนวน 91 คู่ คิดเป็นร้อยละ 92.86 ในคู่อักษรจีนที่มีความหมายกว้างกว่าอักษรคันจิของญี่ปุ่น สามารถแบ่งได้ 2 ด้าน คือ ด้านความหมายและด้านการใช้ ด้านความหมาย แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. ความหมายขยายออก มี 59 คู่ เป็นประเภทที่มีจำนวนอักษรมากที่สุด 2. ความหมายตามสังคม 25 คู่ 3. ความหมายตามประวัติศาสตร์ 5 คู่ ด้านการใช้ แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. การใช้เป็นนามสกุล 54 คู่ 2. การใช้เป็นสัญลักษณ์ 28 คู่ 3. การนำมาใช้เป็นคำทางไวยากรณ์ 21 คู่ และ 4. การนำมาใช้เป็นความหมายเฉพาะ 3 คู่ โดยที่อักษรจีนหนึ่งอักษรนั้น จะสามารถจัดประเภททางความหมายได้มากกว่าหนึ่งประเภท เนื่องจากอักษรจีนหนึ่งอักษรมีความหมายมากกว่าหนึ่งความหมาย เห็นได้ว่าอักษรจีนมีความหมายขยายออกไปตามบริบทสังคมและวัฒนธรรม ทำให้อักษรจีนมีความหมายกว้างกว่าอักษรคันจิในภาษาญี่ปุ่น