Publication: ความชัดเจนในการพูดแสดงความเห็นโต้แย้ง การศึกษาเปรียบเทียบผู้พูดชาวญี่ปุ่นกับผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2016
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา
JSN Journal
JSN Journal
Volume
6
Issue
1
Edition
Start Page
95
End Page
113
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
ความชัดเจนในการพูดแสดงความเห็นโต้แย้ง การศึกษาเปรียบเทียบผู้พูดชาวญี่ปุ่นกับผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย
Alternative Title(s)
Explicitness in the Expressions of Disagreement : A Comparative Study of Japanese Speakers and Thai Learners of Japanese
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะความชัดเจนในการแสดงความ เห็นโต้แย้งในภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยที่ศึกษาอยู่ ณ ประเทศญี่ปุ่นว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างจากเจ้าของภาษาอย่างไร ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนองค์ประกอบแสดงความชัดเจนของถ้อยคำ อาทิ การใช้คำบ่งบอกการโต้แย้ง การอ้างอิงคำหรือเนื้อหาของคู่สนทนา การใช้คำเชื่อมแสดงการขัดแย้ง การซ้ำคำเพื่อแสดงการขัดแย้ง การไม่ชะลอความเห็นขัดแย้งของตนในผู้พูดชาวญี่ปุ่นและผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น ชาวไทย พบว่าจำนวนการปรากฏขององค์ประกอบโดยรวมมีปริมาณใกล้เคียงกัน ทำให้เห็นว่าผู้เรียนมีแนวโน้มทักษะการใช้ภาษาไปในทางเดียวกับเจ้าของภาษา แต่เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการปรากฏองค์ประกอบต่าง ๆ กับปัจจัยความสนิทสนมของผู้พูดผู้ฟัง สถานภาพ และระดับความเห็นต่าง พบว่าการแสดงความเห็นโต้แย้งในผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยรับอิทธิพลจากความ แตกต่างของสถานภาพมากกว่าในผู้พูดชาวญี่ปุ่นอันมีสาเหตุมาจากอิทธิพลของภาษา แม่ ความเข้าใจวัฒนธรรมของผู้เรียน และลักษณะเฉพาะของกลุ่มประชากรตัวอย่าง