Publication: “怨而不怒哀而不伤” 徐志摩诗歌抒情的审美积淀
View online Resources
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2010
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
文學院學報
Liberal Arts Review
ศิลปศาสตร์ปริทัศน์
Liberal Arts Review
ศิลปศาสตร์ปริทัศน์
Volume
5
Issue
9
Edition
Start Page
71
End Page
80
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
“怨而不怒哀而不伤” 徐志摩诗歌抒情的审美积淀
Alternative Title(s)
วรรณศิลป์แนวสงวนอารมณ์ในกวีนิพนธ์ของสวีจื้อหมอ
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
徐志摩的诗所以动人,一个重要原因就是“怨而不怒哀而不伤”的抒情风貌,这种抒情风貌,深受了中国古代诗歌对抒情的基本审美要求,徐志摩自幼及长皆深受古代传统文化之教育及儒家思想的中庸特点的影响,使其在诗歌表现上具有温柔敦厚的抒情风貌。他的启蒙教育基本上是在私塾中进行,有打下了较为深厚的古典底下。在徐志摩的大部分诗歌中都体现了传统文学中的意境,意象特点,儒家思想的中庸和含蓄,甚至道家思想的自然,尤其是在儒家思想的影响下形成了“怨而不怒哀而不伤”的审美传统。以《再别康桥》为例,诗人将那种浓郁的离别化得淡雅、缥缈。从头到尾表现出对自我的压抑,对情感的克制,但在整个诗中,只是恣意渲染康河的美景,没有困难以割舍的别情而泪下。这是其创作深受民族传统文化规范的影响。 徐志摩是新月派之核心人物,曾致力于新诗之格律化,非但讲究体裁协韵及声调之完美,对新诗那风格意境的追求亦极为严谨,不仅提高新诗的学术性,亦增强新诗的艺术魅力,将当年的新诗推向时代的高峰,深深的影响了新月派后起之秀们的诗风,是开辟新诗途径的文化先锋! 本文重点是从民族文化传统对徐志摩诗歌影响的角度对徐志摩诗歌的“怨而不怒哀而不伤”作些分析。故将中国旧体诗与徐志摩新诗作对比,且尚须符合“怨而不怒哀而不伤”的抒情审美风貌。举些情景颇同之作,互作对比。
สวีจื้อหมอ (徐志摩) (พ.ศ.2439 – 2479) เป็นกวีจีนสมัยใหม่ที่ได้รับความนิยมจากคนร่วมสมัย มีแนววรรณศิลป์ที่เรียกว่า การสงวนอารมณ์ (怨而不怒哀而不伤) กล่าวคือ เน้นการพรรณนาความรู้สึกอย่างสงบสำรวม ไม่เปิดเผยหรือระบายอารมณ์อย่างรุนแรง ซึ่งแนวการประพันธ์นี้เป็นหลักกวีนิพนธ์จีนที่สืบทอดมาแต่โบราณ สวีจื้อหมอได้รับการศึกษาขั้นต้นจากโรงเรียนจีน จึงได้เรียนรู้หลักกวีนิพนธ์โบราณอย่างลึกซึ้งและกลายเป็นพื้นฐานการแต่งบทกวีของเขาในเวลาต่อมา อิทธิพลสำคัญที่ปรากฏในกวีนิพนธ์ส่วนใหญ่ของสวีจื้อหมอ คือ การถ่ายทอดจินตนาการโดยแฝงความรู้สึกนึกคิดตามปรัชญาลัทธิหยู (儒教) และลัทธิเต๋า (道教) ที่เน้นความเป็นธรรมชาติ วรรณศิลป์ของสวีจื้อหมออาจสรุปลักษณะเด่นได้ 4 ลักษณะ คือ 1) การสืบทอดขนบกวีนิพนธ์โบราณ 2) การแฝงความหมายโดยนัย 3) การใช้อุปลักษณ์ และ 4) เสียงสัมผัสและการหักมุม การศึกษาวรรณศิลป์แนวสงวนอารมณ์ในกวีนิพนธ์ของสวีจื้อหมอ ทำให้เข้าใจถึงหลักสุนทรียศาสตร์ร่วมสมัยของจีน ซึ่งแม้จะพัฒนามีความเป็นสมัยใหม่ขึ้น แต่ก็ยังปรากฏรากความคิดและแนวการประพันธ์ที่เป็นอิทธิพลจากหลักกวีนิพนธ์จีนโบราณ ข้อค้นพบนี้สะท้อนถึงบุคลิกและแนวคิดของชาวจีนที่มีความลุ่มลึก สำรวม และเข้าใจธรรมชาติของโลกและชีวิต
สวีจื้อหมอ (徐志摩) (พ.ศ.2439 – 2479) เป็นกวีจีนสมัยใหม่ที่ได้รับความนิยมจากคนร่วมสมัย มีแนววรรณศิลป์ที่เรียกว่า การสงวนอารมณ์ (怨而不怒哀而不伤) กล่าวคือ เน้นการพรรณนาความรู้สึกอย่างสงบสำรวม ไม่เปิดเผยหรือระบายอารมณ์อย่างรุนแรง ซึ่งแนวการประพันธ์นี้เป็นหลักกวีนิพนธ์จีนที่สืบทอดมาแต่โบราณ สวีจื้อหมอได้รับการศึกษาขั้นต้นจากโรงเรียนจีน จึงได้เรียนรู้หลักกวีนิพนธ์โบราณอย่างลึกซึ้งและกลายเป็นพื้นฐานการแต่งบทกวีของเขาในเวลาต่อมา อิทธิพลสำคัญที่ปรากฏในกวีนิพนธ์ส่วนใหญ่ของสวีจื้อหมอ คือ การถ่ายทอดจินตนาการโดยแฝงความรู้สึกนึกคิดตามปรัชญาลัทธิหยู (儒教) และลัทธิเต๋า (道教) ที่เน้นความเป็นธรรมชาติ วรรณศิลป์ของสวีจื้อหมออาจสรุปลักษณะเด่นได้ 4 ลักษณะ คือ 1) การสืบทอดขนบกวีนิพนธ์โบราณ 2) การแฝงความหมายโดยนัย 3) การใช้อุปลักษณ์ และ 4) เสียงสัมผัสและการหักมุม การศึกษาวรรณศิลป์แนวสงวนอารมณ์ในกวีนิพนธ์ของสวีจื้อหมอ ทำให้เข้าใจถึงหลักสุนทรียศาสตร์ร่วมสมัยของจีน ซึ่งแม้จะพัฒนามีความเป็นสมัยใหม่ขึ้น แต่ก็ยังปรากฏรากความคิดและแนวการประพันธ์ที่เป็นอิทธิพลจากหลักกวีนิพนธ์จีนโบราณ ข้อค้นพบนี้สะท้อนถึงบุคลิกและแนวคิดของชาวจีนที่มีความลุ่มลึก สำรวม และเข้าใจธรรมชาติของโลกและชีวิต