Publication:
กลวิธีการเรียนรู้คำศัพท์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี

dc.contributor.authorศศิธร คตสุข
dc.contributor.authorSasithorn Khathasuken
dc.date.accessioned2023-12-16T14:41:15Z
dc.date.available2023-12-16T14:41:15Z
dc.date.issued2015
dc.date.issuedBE2558
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการเรียนรู้คำศัพท์ของนักเรียนชั้นมัชยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบูรย์ และเปรียบเทียบกอวิธีการเรียบรู้คำศัพท์ของ นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาอังกฤษที่แตกต่างกับ 3 กลุ่ม เก็บข้อมูลโดยใช้กลุ่ม ตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธอมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1 การศึกษา 2556 จำนวน 46 คน เครื่องมือ ในการวิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการใช้กลวิธีใบการเรียนรู้คำศัพท์ของนักเรียน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใช้กลวิธีการเรียนรู้คำศัพท์ทั้งหมด 6 กลวิธี ได้แก่ กลวิธีการจำ กลวิธีเชิงปริชาน กลวิธีการเสริมและการทดแทนกลวิธีเชิงอภิปริชาน กลวิธีทางจิตพิสัยและกลวิธีทางสังคม เมื่อเปรียบเทียบกลวิธีการเรียนรู้คำศัพท์ของนักเรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาอังกฤษที่แตกต่างกัน 3 กลุ่ม คือ นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชาภาษาอังกฤษระดับสูง ระดับป่านกลาง และระดับต่ำ แล้ว พบว่ นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ใน การเรียนวิชาภาษาอังกฤษระดับสูง ใช้กลวิธีทางจิตพิสัยมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 3.48) นักเรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษระดับปานกลาง ใช้กลวิธีเชิงอภิปริชานมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 3.19) งานวิจัยชิ้นนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอนในการปรับปรุงวิธีการสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษให้มีความเหมาะสมกับนักเรียนในโรงเรียนแห่งนั้น
dc.description.abstractThis study aims to investigate vocabulary leaming strategies of secondary school (Year 5) students in Phetchabun. The vocabulary leaming strategy questionnaires were distnibuted to the students in the first semester of the 2013 academic year. The research instruments were vocabulary learing strategy questionnaires and vocabulary leaming strategy interviews. The results show that the students used six vocabulary leaming strategies, including memory - related strategies, cognitive strategies, compensatory strategies, metacognitive strategies, affective strategies and social strategies. By comparing three different groups of students, it is found that the majority of the high learning achievement group used affective strategies (mean 3.48), wbereas the majority of the medium leaming achievement group used metacognitive strategies (mean 3.30). Ou the other hand, the majority of the low leaming achievement group used cognitive strategies (mean 3.19). This study is useful for the teachers in that school to develop the vocabulary teaching strategies that suit their students.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/8812
dc.language.isoth
dc.publisherมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักหอสมุด
dc.publisher.placeกรุงเทพมหานคร
dc.subject.contentCoverageENG - อังกฤษ
dc.subject.contentCoverageTHA - ไทย
dc.subject.isced0231 การเรียนภาษา
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.titleกลวิธีการเรียนรู้คำศัพท์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี
dc.title.alternativeVocabulary learning strategies of secondary (Year 5) students in Phetchabunen
dc.typeวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท (Master Thesis)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID245
harrt.researchAreaภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Linguistics)
harrt.researchGroupภาษาศาสตร์
harrt.researchTheme.1การเรียนการสอนภาษา (Language Teaching)
harrt.researchTheme.2การรับภาษาที่สอง (Second (Foreign) language acquisition)
mods.location.urlhttps://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=459282
thesis.degree.departmentคณะมนุุุษยศาสตร์
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Files