Publication: การศึกษาวิเคราะห์เสรีภาพของคนไทยในรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ.2550
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2014
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การศึกษาวิเคราะห์เสรีภาพของคนไทยในรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ.2550
Alternative Title(s)
An Analytical Study of Freedom of Thai people in Thai constitution B.E.2550
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 3 อย่าง คือ 1. เพื่อศึกษาแนวทางเกี่ยวกับเสรีภาพในทัศนะของนักปรัชญา 2. เพื่อศึกษาเสรีภาพของคนไทยในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 3. เพื่อศึกษาวิเคราะห์เสรีภาพของคนไทยในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 จากการศึกษาวิจัยพบว่า เสรีภาพในทัศนะของนักปรัชญา มีความหมายว่า เสรีภาพ หมายถึง อิสรภาพความเป็นตัวของตัวเอง เป็นนายของตัวเอง เสรีภาพคู่กับความรับผิชอบ และเสรีภาพมีความหมายทางสังคมการเมือง ธรรมชาติของเสรีภาพ เสรีภาพกับมนุษย์ จุดมุ่งหมายของเสรีภาพ เสรีภาพกับการปกครองของรัฐ ซึ่งมีความเกี่ยงข้องและสัมพันธ์กัน เสรีภาพของคนไทยในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 พบว่าคือ เสรีภาพส่วนบุคคล เสรีภาพในการประกอบอาชีพ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน เสรีภาพการศึกษา และเสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม จากกรณีศึกษาแนวคิดเสรีภาพของนักปรัชญาที่มีต่อเสรีภาพของคนไทยในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 โดยภาพรวมคล้ายคลึงกันคือ ฮอบส์ รุสโซ ซาร์ตและพระพรหมคุณาภรณ์ว่า มนุษย์ทุกคนต้องการเสรีภาพในการดำรงอยู่ด้วยการตัดสินใจเลือกด้วยตัวเอง คือ มนุษย์ทุกคนต้องการเป็นนายของตัวเอง แต่เมื่อมาอยู่ในสังคมร่วมกันก็จำเป็นต้องเคารพ กฎหมาย หรือกติกาบางอย่างของสังคมที่ตนเองอยู่ร่วมกันก็เพื่อให้ตัวเองอยู่ได้ และเพื่อผู้อื่นก็อยู่ได้ด้วย ในรัฐธรรมนูญสิ่งที่บัญญัติส่วนใหญ่จะเป็นแนวคิดของนักปรัชญาอยู่แล้ว เพราะนักปรัชญาคือ ฮอบส์ รุสโซ ซาร์ตและล็อค เป็นผู้เสนอแนวคิดเสรีนิยมประชาธิปไตย แต่ชาร์ต เป็นนักวรรณกรรมและนักปรัชญาอัตถิภาวนิยมที่โดดเด่นในแนวคิดทางด้านเสรีภาพ ซึ่งก็สะท้อนให้เห็นได้ร่วมกันในการศึกรัฐธรรมนูญ ส่วนพระพรหมคุณาภรณ์ เห็นว่าเสรีภาพ ต้องเข้าใจถึงกฎของความจริงและกฎเกณฑ์ที่สังคมจะรู้
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
บัณฑิตวิทยาลัย
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย