Publication: กลวิธีสื่อสารในการเขียนเรียงความภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
1998
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
กลวิธีสื่อสารในการเขียนเรียงความภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
Alternative Title(s)
-
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การศึกษาเรื่อง "กลวิธีสื่อสารในการเขียนเรียงความภายาอังกฤษของนักเรียน ขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย" นี้ มีวัตถุประลงค์เพื่อ 1. ศึกษาร้อผิดพลาดในการเรียนเรียงความของนักเรียน ทั้งในระตับคำ ประโยค และข้อความ 2. ศึกษาประเภทของกลวิธีสื่อสารซึ่งก่อให้เกิดข้อผิดพลาดดังกล่าว ผู้วิจัยเลือกตัวอย่างประซากรจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนกษานารีวิทยา จำนวน 137 คนโตยให้ตัวอย่างประชากรเขียนเรียง ซึ่งเป็นการเล่าเรื่องหลังจากดูวิคีทัศน์ภาพยนตร์การ์ตูน เรื่อง "Cinderella" ผู้วิจัยคัดเลือกงานเขียนโดยการตรวจให้คะแนน แล้วเลือกงานที่มีระดับคะแนนปานกลางจำนวน 30 คนงาน จากการศึกษาพบข้อผิดพลาดจำนวน 1,693 ข้อผิด จากจำนวนประโยค 508 แยกตามประเกทชัอผิดพลาดเรียงตามลำดับมากน้อยดังนี้ 1. การใช้กาล 2. การใช้คำนำหน้านาม 3. การเลือกใช้คำผิด 4. การใช้คำบุพบท 5. กรแสดงพจน์ของคำนาม 6. การใช้กริยารอง7. การใช้รูปประโยคไม่สมบูรณ์ 8. การใช้กริยาร่วย "be" 9. การใช้คำผิดประเภท 10. การใช้บุรุษสรรพนาม 11. การเรียงส่วนขยายในนามวลี 12. การแสดงความเป็นเจ้าของ 13. การใช้ประพันธสรรพนาม 14. การใช้คำที่ทำหน้าที่เชื่อมโยงความ 15. การแสดงความหมายปฏิเสธ16. ความสอดคล้องระหว่างประธานกับกริยา และ 17. การเรียงส่วนขยายกริยาวลี การศึกษาเรื่อง "กลวิธีสื่อสารในการเขียนเรียงความภายาอังกฤษของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย" นี้ มีวัตถุประลงค์เพื่อ 1. ศึกษาร้อผิดพลาดในการเรียนเรียงความของนักเรียน ทั้งในระตับคำ ประโยค และข้อความ 2. ศึกษาประเภทของกลวิธีสื่อสารซึ่งก่อให้เกิดข้อผิดพลาดดังกล่าว ผู้วิจัยเลือกตัวอย่างประซากรจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนกษานารีวิทยา จำนวน 137 คนโตยให้ตัวอย่างประขากรเรียนเรียงความซึ่งเป็นการเล่าเรื่องหลังจากดูวิคีทัศน์ภาพยนตร์การ์ตูน เรื่อง "Cinderella" ผู้วิจัยคัดเลือกงานเขียนโดยการตรวจให้คะแนน แล้วเลือกงานที่มีระดับคะแนนปานกลางจำนวน 30 คน งานจากการศึกษาพบข้อผิดพลาดจำนวน 1,693 ข้อผิด จากจำนวนประโยค 508แยกตามประเกทชัอผิดพลาดเรียงตามลำดับมากน้อยดังนี้ 1. การใช้กาล 2. การใช้คำนำหน้านาม3. การเลือกใช้คำผิด 4. การใช้คำบุพบท 5. กรแสดงพจน์ของคำนาม 6. การใช้กริยารอง7. การใช้รูปประโยคไม่สมบูรณ์ 8. การใช้กริยาร่วย "be" 9. การใช้คำผิดประเภท 10. การใช้บุรุษสรรพนาม 11. การเรียงส่วนขยายในนามวลี 12. การแสดงความเป็นเจ้าของ 13. การใช้ประพันธสรรพนาม 14. การใช้คำที่ทำหน้าที่เชื่อมโยงความ 15. การแสดงความหมายปฏิเสธ16. ความสอดคล้องระหว่างประธานกับกริยา และ 17. การเรียงส่วนขยายกริยาวลี
The strategies of naming electronic mail or e-mail accounts are studied in this thesis. It investigates the strategies of naming e-mail, the structure and the meaning of e- mail accounts by analyzing data collected via questionnaire and the Intemnet. The results of this study indicate that all e-mail users use the strategy of meaning in e-mail accounts naming. The strategy of meaning can be divided into six semantic domains: the naming-based strategy, the existence-based strategy, the non-existence- based strategy, the action-based strategy, theappearance-based strategy, and the geographically-based strategy. Among the strategies, the most often used is the naming- based strategy, and the least often used is the geographically-based strategy. Additionally, there are two types of structures of e-mail account names: single structure and compound structure. Among the types of structures, the mostly used is the single structure.
The strategies of naming electronic mail or e-mail accounts are studied in this thesis. It investigates the strategies of naming e-mail, the structure and the meaning of e- mail accounts by analyzing data collected via questionnaire and the Intemnet. The results of this study indicate that all e-mail users use the strategy of meaning in e-mail accounts naming. The strategy of meaning can be divided into six semantic domains: the naming-based strategy, the existence-based strategy, the non-existence- based strategy, the action-based strategy, theappearance-based strategy, and the geographically-based strategy. Among the strategies, the most often used is the naming- based strategy, and the least often used is the geographically-based strategy. Additionally, there are two types of structures of e-mail account names: single structure and compound structure. Among the types of structures, the mostly used is the single structure.
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะศิลปศาสตร์
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์