Publication: 认知视阈下中泰 “鸡” 隐喻的对比研究
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of International Studies
วารสารวิเทศศึกษา
วารสารวิเทศศึกษา
Volume
8
Issue
1
Edition
Start Page
169
End Page
195
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
认知视阈下中泰 “鸡” 隐喻的对比研究
Alternative Title(s)
A Comparative Study of Chinese and Thai Animal “Chicken” Metaphor from a Cognitive Perspective
การศึกษาเปรียบเทียบอุปลักษณ์ “ไก่” ในภาษาจีนและภาษาไทย ตามมุมมองทางปริชาน
การศึกษาเปรียบเทียบอุปลักษณ์ “ไก่” ในภาษาจีนและภาษาไทย ตามมุมมองทางปริชาน
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
认知隐喻是根植于人身体经验的思维认知模式。动物作为人类最亲密接触的事物之一,为感知和理解客观世界奠定了基础。令人感兴趣的是汉泰两种语言中均存在着大量的与鸡相关的动物隐喻。“鸡” 是一种古老并为中泰两国人民所熟悉的动物。人类与 “鸡” 的接触可以追溯到远古时期,以 “鸡” 作为图腾成为动物生肖属相之一并一直沿袭至今。因此,在汉泰两国语言之中,关于 “鸡” 的隐喻比比皆是,并且它们都受到其特定的社会文化等因素的影响。本文以汉语 “鸡”和泰语 “ไก่” /kaj 1 / (鸡) 为研究对象,运用相关的认知隐喻理论知识 (Lakoff and Johnson, 1980; Kövecses, 2002),通过对汉泰两种语言中同一动物的跨文化隐喻进行系统的对比分析,探索其背后因社会文化语境的差异所折射出存在的相似和不同的文化喻意。
Conceptual Metaphors are one of cognitive models grounded in our bodily experience. Animals as one of most important creatures that are intimately exposed to human beings lay a foundation of the perception and understanding of human beings towards the objective world. Interestingly, several linguistic phenomena are related to ‘Chicken’metaphorsin the Chinese and Thai languages. Humanbeings and chickens have been interacting since ancient times.Chickens were long included as one of totems in animal zodiacs of China and Thailandso that numerous chicken-related metaphorical expressions are used in both Chinese and Thai, as affected by their specific social and cultural factors. This paper aims at investigating Chinese and Thai animal “Chicken” metaphor from cognitive and cross-cultural perspectives within the theoretical framework of Conceptual Metaphor Theory (CMT) (Lakoff and Johnson, 1980; Kövecses, 2002).By a systematically comparative study, results were that the existence of similarities and differences of culturalfigurative meaningreflected in different socio-cultural contexts.
อุปลักษณ์มโนทัศน์(conceptual metaphor) ไม่เพียงเกี่ยวข้องแต่ในเรื่องการใช้ภาษาเท่านั้น แต่ยังเป็นกระบวนการทางมโนทัศน์หรือเป็นกลไกสำคัญอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นในระบบปริชานของมนุษย์ โดยอาศัยประสบการณ์ที่ได้รับจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสรรพสิ่งที่อยู่รอบตัว สัตว์กับมนุษย์มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด จึงมักจะถูกนำมาใช้เป็นสิ่งที่มนุษย์คุ้นเคยใกล้ตัวมาใช้ในการเปรียบเทียบเพื่อเรียนรู้และเข้าใจโลก ประเด็นที่น่าสนใจคือ ทั้งภาษาไทยและภาษาจีนต่างมีลักษณะการใช้ภาษาซึ่งได้นำ “ไก่” มาใช้ในการเปรียบเทียบให้เกิดเป็นอุปลักษณ์ อาจเนื่องจากนับตั้งแต่สมัยโบราณไก่นอกจากเป็นสัตว์เลี้ยงซึ่งอยู่คู่กับคนไทยและจีนโดยตลอดแล้ว ไก่ในฐานะที่เป็นรูปสัตว์ที่ไว้เคารพบูชา (totem) ยังกลายเป็นหนึ่งใน 12 นักษัตรของทั้งสองชนชาติและสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ดังนั้น ทั้งภาษาไทยและภาษาจีนจึงมีลักษณะการใช้ภาษาที่นำ“ไก่”มาใช้ในเชิงเปรียบเทียบเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้อาจได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละสังคม งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญมุ่งที่จะศึกษาอุปลักษณ์ “ไก่” ในภาษาจีนเปรียบเทียบกับภาษาไทยตามแนวคิดทฤษฎีอุปลักษณ์มโนทัศน์(Conceptual Metaphor Theory, CMT) (Lakoff and Johnson, 1980; Kövecses, 2002) เพื่อเป็นประโยชน์ในการเรียนรู้ความเหมือนและความแตกต่างของความหมายเชิงเปรียบเทียบ และเข้าใจระบบความคิดของผู้ใช้ภาษาทางสังคม ซึ่งสะท้อนได้จากบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
Conceptual Metaphors are one of cognitive models grounded in our bodily experience. Animals as one of most important creatures that are intimately exposed to human beings lay a foundation of the perception and understanding of human beings towards the objective world. Interestingly, several linguistic phenomena are related to ‘Chicken’metaphorsin the Chinese and Thai languages. Humanbeings and chickens have been interacting since ancient times.Chickens were long included as one of totems in animal zodiacs of China and Thailandso that numerous chicken-related metaphorical expressions are used in both Chinese and Thai, as affected by their specific social and cultural factors. This paper aims at investigating Chinese and Thai animal “Chicken” metaphor from cognitive and cross-cultural perspectives within the theoretical framework of Conceptual Metaphor Theory (CMT) (Lakoff and Johnson, 1980; Kövecses, 2002).By a systematically comparative study, results were that the existence of similarities and differences of culturalfigurative meaningreflected in different socio-cultural contexts.
อุปลักษณ์มโนทัศน์(conceptual metaphor) ไม่เพียงเกี่ยวข้องแต่ในเรื่องการใช้ภาษาเท่านั้น แต่ยังเป็นกระบวนการทางมโนทัศน์หรือเป็นกลไกสำคัญอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นในระบบปริชานของมนุษย์ โดยอาศัยประสบการณ์ที่ได้รับจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสรรพสิ่งที่อยู่รอบตัว สัตว์กับมนุษย์มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด จึงมักจะถูกนำมาใช้เป็นสิ่งที่มนุษย์คุ้นเคยใกล้ตัวมาใช้ในการเปรียบเทียบเพื่อเรียนรู้และเข้าใจโลก ประเด็นที่น่าสนใจคือ ทั้งภาษาไทยและภาษาจีนต่างมีลักษณะการใช้ภาษาซึ่งได้นำ “ไก่” มาใช้ในการเปรียบเทียบให้เกิดเป็นอุปลักษณ์ อาจเนื่องจากนับตั้งแต่สมัยโบราณไก่นอกจากเป็นสัตว์เลี้ยงซึ่งอยู่คู่กับคนไทยและจีนโดยตลอดแล้ว ไก่ในฐานะที่เป็นรูปสัตว์ที่ไว้เคารพบูชา (totem) ยังกลายเป็นหนึ่งใน 12 นักษัตรของทั้งสองชนชาติและสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ดังนั้น ทั้งภาษาไทยและภาษาจีนจึงมีลักษณะการใช้ภาษาที่นำ“ไก่”มาใช้ในเชิงเปรียบเทียบเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้อาจได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละสังคม งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญมุ่งที่จะศึกษาอุปลักษณ์ “ไก่” ในภาษาจีนเปรียบเทียบกับภาษาไทยตามแนวคิดทฤษฎีอุปลักษณ์มโนทัศน์(Conceptual Metaphor Theory, CMT) (Lakoff and Johnson, 1980; Kövecses, 2002) เพื่อเป็นประโยชน์ในการเรียนรู้ความเหมือนและความแตกต่างของความหมายเชิงเปรียบเทียบ และเข้าใจระบบความคิดของผู้ใช้ภาษาทางสังคม ซึ่งสะท้อนได้จากบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน