Publication: การส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นโดยใช้อักษรเบรลล์สำหรับนักเรียนผู้พิการทางสายตา — กรณีศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตภาคเหนือ และภาคกลาง —
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2014
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารเจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ
国際交流基金バンコク日本文化センター
国際交流基金バンコク日本文化センター
Volume
Issue
11
Edition
Start Page
91
End Page
100
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นโดยใช้อักษรเบรลล์สำหรับนักเรียนผู้พิการทางสายตา — กรณีศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตภาคเหนือ และภาคกลาง —
Alternative Title(s)
視覚障碍のある生徒への日本点字を用いた日本語教育支援――北部・中部タイ中等教育機関のケースから――
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
จุดประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ เพื่อส่งเสริมนักเรียนผู้พิการทางสายตาที่ศึกษาภาษาญี่ปุ่น ในฐานะภาษาต่างประเทศในระดับมัธยมศึกษา ในเขตภาคเหนือและภาคกลางของประเทศไทย โดยมีผลการปฏิบัติ 3 ข้อดังต่อไปนี้ คือ1) รวบรวมข้อมูลครูผู้สอน และนักเรียนผู้พิการทางสายตา ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาภาษาญี่ปุ่น 2) จัดอบรมสำหรับครูเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นโดยใช้อักษรเบรลล์ญี่ปุ่นกับนักเรียนผู้พิการทางสายตา 3) ผลิตหนังสือที่รวบรวมข้อมูลอักษรเบรลล์ญี่ปุ่นที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย ภาพรวมพบว่าในเขตภาคกลางใช้อักษรเบรลล์ภาษาญี่ปุ่นในการเรียนการสอนมากกว่าเขตภาคเหนือ ด้านแรงจูงใจของผู้เรียนพบว่าผู้เรียนต่างมีความมุ่งมั่นต่อการเรียน ส่วนด้านครูผู้สอนกลับพบว่ามีความลำบากในการสอน เช่น ความยากในการสอนในชั้นเรียน มีความรู้ด้านอักษรเบรลล์ไม่เพียงพอ เป็นต้น เนื่องจากในประเทศไทยยังไม่มีการจัดการอบรมครูผู้สอนภาษาญี่ปุ่นระดับมัธยมศึกษาสำหรับสอนนักเรียนผู้พิการทางสายตา จึงหวังว่างานวิจัยนี้จะสามารถเป็นแหล่งข้อมูลให้แก่ครูผู้สอน