Publication: เกณฑ์การตัดสินคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์: กรณีภาพวาดสิตางคุ์บัวทอง
dc.contributor.author | พระมหาสุรชัย ชยาภิวฑฺฒโน | |
dc.contributor.author | Phramaha Surachai Jayābhivaḍḍhano | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T06:40:48Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T06:40:48Z | |
dc.date.issued | 2020 | |
dc.date.issuedBE | 2563 | |
dc.description.abstract | บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับสุนทรียศาสตร์ รวมถึงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องแล้วนํามาวิเคราะห์ภาพวาดสิตางคุ์ บัวทอง สุนทรียศาสตร์เป็นสาขาหนึ่งของปรัชญาที่กล่าวถึงทฤษฎีความงามซึ่งรวมเอาความงามในด้านศิลปะไว้ด้วย ศิลปะหมายถึง ความงามในด้านคุณค่าทางสุนทรียะ แนวคิดที่สัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับสุนทรียศาสตร์การวิเคราะห์ภาพวาดสิตางคุ์ บัวทองมีดังนี้ 1)ด้านศีลธรรมและจิตวิสัยภาพนี้กระทบต่อความรู้สึกของคนทั่วไปเพราะมองว่า มีความเหมาะสมหรือไม่ที่แสดงอากัปกิริยาชี้ส้มแทนที่จะเป็นการประนมมือ 2) ด้านสุนทรียนิยมและวัตถุวิสัยเป็นความงามของงานศิลปะที่จินตนาการให้เห็นความร่วมสมัยทั้งพุทธประวัติในอดีต เน็ตไอดอลในปัจจุบันและผู้เสพภาพนี้ในอนาคตที่จะพึงสัมผัสธาตุแท้ของความงามในตัวศิลปะ3) ด้านปฏิสัมพันธนิยมและสัมพัทธนิยมภาพนี้ไม่ได้ทําลายศีลธรรมทางสังคมเพราะอย่างน้อยก็ไม่ใช่ภาพกากเชิงสังวาสและไม่จําเป็นต้องจําแนกว่า เป็นศิลปะที่ดีหรือเลว เพราะเป็นงานศิลปะที่ทําให้เข้าถึงคุณค่าของชีวิตได้ส่วนองค์ความรู้ใหม่พบว่า ด้านจิตวิสัยเกิดผลกระทบต่อศีลธรรมของสังคมโดยภาพรวม ไม่เชิงบวกก็เชิงลบ การตัดสินคุณค่าทางสุนทรียะต้องอาศัยเสียงข้างมากว่าจะทําอย่างไรด้านวัตถุวิสัยเจตนารมณ์ของศิลปิน ความงามที่เป็นอัตลักษณ์และความเป็นจริงของของสังคม เหล่านี้เป็นคุณสมบัติที่ตัดสินคุณค่าทางสุนทรียะได้ ด้านสัมพัทธนิยมความเห็นที่หลากหลาย (จิตวิสัย) เพื่อจะเข้าถึงคุณสมบัติของศิลปะที่มีอยู่เดิม (วัตถุวิสัย) ทําให้ความหลากหลายรวมเป็นหนึ่งเดียวแต่การเข้าถึงภาพวาดมีลักษณะไม่เท่ากันตามสัญชาตญาณของแต่ละคน | |
dc.description.abstract | This article is to study the relationship between art and aesthetics, including a related theory, then apply for analyzingthe Sitang Buathong’s Painting.Aesthetics is a branch of philosophy which concerns with a theory of beauty as well as beautyof art. The meaning of art is a beautyof aesthetic value which has the related concepts into aesthetics.The analysis of Sitang Buathong’s Painting is as follow: 1) moralism and subjectivism:it affects to emotion of all people in term of proper and improper artBecause the painting which impresses the gesture of pointing finger to the orange is improper, it should put both hands togetheras respect instead | en |
dc.description.abstract | 2)aestheticism and objectivism: it is a beauty of painting which images to contemporary story of the Buddha’s lifetime, present artist idol, and further audiences who impress an emotion to element of art value | en |
dc.description.abstract | and 3) interactionism and relativism: it doesnot destroy social morality, at least not an erotic art, it is on need to divide as a bad or good art because it is able to attain thevalue of life. For the term of new body of knowledge, it is found that for subjective aspect, it affects to social morality overall, both in positive and negative. Judgment of aesthetic value has to consider how the most peopledo in majority. For objective aspect, the purpose of artist, beauty of individual, and reality of society are the qualification which is a judgment ofaesthetic value. For relative aspect, the various opinionsof people (Subjectivism) that try to understand the qualification of art which is in itself(Objectivism)make them in unit. But such understanding is differentaccording to the instinct of eachperson, so judgment of aesthetic value is based on probability. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/4938 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | เกณฑ์การตัดสินคุณค่า | |
dc.subject | คุณค่าทางสุนทรียะ | |
dc.subject | สิตางคุ์ บัวทอง | |
dc.subject | Value Judgment | |
dc.subject | Aesthetic Value | |
dc.subject | Sitang Buathong | |
dc.subject.isced | 0223 ปรัชญาและจริยธรรม | |
dc.subject.oecd | 6.3 ปรัชญา จริยธรรมและศาสนา | |
dc.title | เกณฑ์การตัดสินคุณค่าทางสุนทรียศาสตร์: กรณีภาพวาดสิตางคุ์บัวทอง | |
dc.title.alternative | Judgment of Aesthetic Value: A Case Study of Sitang Buathong Painting | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 828 | |
harrt.researchArea | ปรัชญาตะวันตก | |
harrt.researchGroup | ปรัชญา | |
harrt.researchTheme.1 | สุนทรียศาสตร์ | |
harrt.researchTheme.2 | ปรัชญาประยุกต์ | |
mods.location.url | https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jmpr/article/view/250257 | |
oaire.citation.endPage | 34 | |
oaire.citation.issue | 1 | |
oaire.citation.startPage | 11 | |
oaire.citation.title | วารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์ | |
oaire.citation.title | Journal of MCU Philosophy Review | en |
oaire.citation.volume | 3 |