Publication: การศึกษาเชิงวิเคราะห์แนวคิดจริยศาสตร์กับการเป็นหนี้ในพุทธปรัชญาเถรวาท
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2014
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การศึกษาเชิงวิเคราะห์แนวคิดจริยศาสตร์กับการเป็นหนี้ในพุทธปรัชญาเถรวาท
Alternative Title(s)
A Critical Study of Ethical Concept and Debts in Theravada Buddhist Philosophy
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ (๑) เพื่อศึกษาทฤษฎีจริยศาสตร์ (๒) เพื่อศึกษาการเป็นหนี้ในพุทธปรัชญาเถรวาท และ (๓) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดจริยศาสตร์กับการเป็นหนี้ในพุทธปรัชญาเถรวาท ผลการวิจัยพบว่า ทฤษฎีจริยศาสตร์ หมายถึง พฤติกรรมและ การกระทำทางในสังคมของมนุษย์ อันเป็นวัฒนธรรม ที่มนุษย์จะต้องเรียนรู้และจะต้องมีการถ่ายทอดวัฒนธรรมโดยสอนให้คนรุ่นหลังรู้ถึงระบบสัญลักษณ์ของสังคม จริยศาสตร์ นักปรัชญาได้แบ่งประเภทจริยศาสตร์ ๒ อย่าง คือ ๑) จริยในเชิงประโยชน์นิยม ๒) จริยศาสตร์ในเชิงเจตนานิยม และมีองค์ประกอบของจริยศาสตร์ ๓ อย่างคือ ๑) บุคคลกระทำ ๒) การกระทำด้านศีลธรรม และ ๓) ผลที่ตามมาของการกระทำ การเป็นหนี้ในพุทธปรัชญาเถรวาท แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ๑) หนี้ทางธรรม คือเป็นหนี้ที่เกิดตามธรรมชาติที่สรรพสัตว์กระทำต่อกันทั้งทางตรงและทางอ้อม ๒) หนี้ทางโลก คือเป็นหนี้เกิดจากความพอใจของแต่ล่ะคนที่กู้เงินยืมสินต่าง ๆ จากสถาบันการเงินของรัฐและเอกชนเป็นหนี้ในระบบและนอกระบบ และทางพุทธปรัชญาเถรวาทมีแนวความคิดว่าการเป็นหนี้เป็นทุกข์ที่สุดในโลกเพราะทำให้เกิดกิเลสตัณหาสะสมอยู่ในจิตทำให้เกิดความทุกข์ในการแสวงหาสิ่งต่าง ๆ มาครอบครองตามความต้องการนั้น ๆ จริยศาสตร์ การเป็นหนี้ในพุทธปรัชญาเถรวาทพบว่า การเป็นหนี้ก็เป็นประโยชน์และนำมาซึ่งความสุขในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ถ้าหากว่าบุคคลนั้นบริหารการเงินและการงานอย่างมีระเบียบวินัยในการรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนโดยสมบูรณ์ไม่บกพร่องในหน้าที่ ที่ตนรับผิดชอบการเป็นหนี้ก็เกิดประโยชน์ทั้งสองฝ่าย คือฝ่ายเจ้าหนี้ และฝ่ายลูกหนี้ ซึ่งมีความสอดคล้องกับทฤษฎีประโยชน์นิยมที่กล่าวว่า หลักเกณฑ์ที่จะตัดสินการกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ว่าถูกหรือผิด ดีหรือชั่ว ชอบหรือไม่ชอบมีประโยชน์ หรือไม่มีประโยชน์ นั้นขึ้นอยู่กับผลที่ได้รับจากการกระทำนั้น แต่ในทางมุมมองทางทฤษฎีเจตนานิยมคือ ความตั้งใจความมุ่งหมายจะทำในสิ่งที่กำหนด ในสิ่งที่ตนชอบ และในสิ่งที่ตนนับถือเป็นการกระทำโดยเจตนา ตามทรรศนะของค้านท์คือ การกระทำที่ถูกคือการกระทำที่เกิดจากเจตนาดี สำหรับการเป็นหนี้ทางธรรมนั้นเป็นเรื่องของธรรมชาติที่ทุกคนต้องมีอยู่ และโดยเฉพาะการเป็นหนี้บุญคุณต้องตอบแทนคุณพ่อแม่ และสิ่งที่เอื้อประโยชน์ให้แก่ตนเอง ซึ่งมีความสอดคล้องกับทฤษฎีทั้งสองอยู่แล้ว แต่ในทางพุทธปรัชญาเถรวาทนั้นถือว่าไม่ว่าจะเป็นหนี้แบบใดก็ถือว่าเป็นทุกข์ในโลกดังสุภาษิตที่ว่า อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก คือการกู้หนี้เป็นทุกข์ในโลก
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
บัณฑิตวิทยาลัย
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย