Publication: การเรียนรู้และการใช้ภาษาอังกฤษของพนักงานหญิงในสถานบันเทิงย่านพัฒน์พงศ์
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2004
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การเรียนรู้และการใช้ภาษาอังกฤษของพนักงานหญิงในสถานบันเทิงย่านพัฒน์พงศ์
Alternative Title(s)
English language learning and the use of English by female employees of entertainment establishments in Patpong
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการเรียนรู้และลักษณะภายาอังกฤษของ พนักงานหญิงชาวไทยในสถานบันเทิงผ่านพัฒนัพงศ์ และนำมาเปรียบเทียบกับสากลลักษณ์ของ ภาษาพิดจิน ข้อมูลได้มาจากการสัมภาษณ์และบันทึกเสียงกลุ่มตัวอย่างเป็นภาษาอังกฤษโดย เจ้าของภาษา สถานที่เก็บข้อมูลได้แก่สถานบันเทิงที่กลุ่มตัวอย่างทำงานอยู่ กลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 30 คนซึ่งแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มเท่าๆกันตามประสบการณ์การทำงาน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ ลักษณะที่แตกต่างไปจากภาษาอังกฤษมาตรฐาน และเปรียบเทียบกับสากลลักษณ์ชองภาษา พิดจินโดยใช้แนวคิดของบิกเกอร์ตัน (Bickerton, 1981), ทอดด์ (Todd, 1984) และโรเมน (Romainc, 1991) ค่สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ 1-test และ 1-test ผลการวิจัยพบว่าวิธีการเรียนรู้ภาษาอังกฤษที่กลุ่มตัวอย่างใช้มากที่สุดมี 2 วิธี ได้แก่ การจดจำการสนทนาระหว่างพนักงานอื่นๆกับนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ และการสอบถาม พนักงานอื่นๆ ผู้จัดการสถานบันเทิง และนักห่องเที่ยวชาวต่างประเทศโดยตรง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าลักษณะภาษาอังกฤษที่พูดโดยกลุ่มตัวอย่างแตกต่างไป จากภาษาอังกฤษทั้งสิ้น 28 ประการซึ่งสามารถจัดเป็นหมวดหมู่ได้ 9 หมวด ได้แก่ การซ้ำคำหรือ วลี การใช้คำศัพท์ การใช้คำนาม การใช้คำสรรพนาม การใช้คำกริยา การใช้คำคุณศัพท์และกริยา วิเศษณ์ การใช้คำสันธาน การใช้คำบุพบท และการใช้ประโยค ผลการวิเคราะห์ข้อมูลยังพบด้วยว่าประสบการณ์การทำงานมีผลต่อการใช้ภาษา อังกฤษของกลุ่มตัวอย่าง โดยการใช้ภาชาของกลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มที่แตกต่างกันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติมีทั้งสิ้น 9 ประการ ได้แก่ การใช้คำนำหน้านาม การแสดงรูปปฏิเสธ การไม่ปรากฎ
ประธานของประโยค การใช้ล้มพันธกริยา การใช้ประโยคความเดียว การใช้คำสันธาน การใช้รูป กริยาเรียง การใช้กริยาช่วย และการแสดงรูปเปรียบเทียบ กลุ่มตัวอย่างที่มีประสบการณ์ในการ ทำงานมากสามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ดีกว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีประสบการณ์ในการทำงานน้อยกว่า ยกเว้นในด้านการแสดงรูปเปรีย เทียบ นอกจากนี้ภาษาอังกฤษที่พูดโดยกลุ่มตัวอย่างมีลักษณะที่ สอดคล้องกับสากลลักษณ์ของภาษาพิดจินทั้งสิ้น 8 ประการ ได้แก่ การซ้ำคำหรือวลี การใช้คำ ศัพท์ การไม่ปรากฏคำนำหน้านาม การไม่ผันกริยาตามกาลและพจน์ของประธาน การใช้คำกริยา การใช้คำสรรพนาม การใช้คำ บุพบท และการใช้ประโยค ผลการวิเคราะห์ข้อมูลยังพบด้วยว่าประสบการณ์การทำงานมีผลต่อการใช้ภาษา อังกฤษของกลุ่มตัวอย่าง โดยการใช้ภาชาของกลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มที่แตกต่างกันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติมีทั้งสิ้น 9 ประการ ได้แก่ การใช้คำนำหน้านาม การแสดงรูปปฏิเสธ การไม่ปรากฎ ประธานของประโยค การใช้ล้มพันธกริยา การใช้ประโยคความเดียว การใช้คำสันธาน การใช้รูป กริยาเรียง การใช้กริยาช่วย และการแสดงรูปเปรียบเทียบ กลุ่มตัวอย่างที่มีประสบการณ์ในการ
ทำงานมากสามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ดีกว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีประสบการณ์ในการทำงานน้อยกว่า ยกเว้นในด้านการแสดงรูปเปรียบเทียบ นอกจากนี้ภาษาอังกฤษที่พูดโดยกลุ่มตัวอย่างมีลักษณะที่ สอดคล้องกับสากลลักษณ์ของภาษาพิดจินทั้งสิ้น 8 ประการ ได้แก่ การซ้ำคำหรือวลี การใช้คำ ศัพท์ การไม่ปรากฏคำนำหน้านาม การไม่ผันกริยาตามกาลและพจน์ของประธาน การใช้คำกริยา การใช้คำสรรพนาม การใช้คำ บุพบท และการใช้ประโยค
The obicctives of this research are to study learing methods and characteristics of the English used by female emptoyecs ot entertainmenl establishments in Patpong, and to compare the lalter with universal features of pidgins. The data consisis of taped intcrview in English of 30 female employees equally divided into three groups by working experiences. Informants' language is compared with the universal features of pidgins based on Bickerton (1981), Todd (1984) and Romaine (1994). The statistics used in this research are percentage, I-test and f-test. Research resutts show that the two most frequently used methods of studying English are memorization of the conversation that their other co-workers have with foreign customers, and asking their co-workers, the manager of the entertainment establishment, and foreign customers. Analysis of data shows that the English used by the sample group is diverted from standard English in nine categories, namely, the repetition of words or phrases, the use of vocabulary, nouns, pronouns, verbs, adjectives and adverbs, conjunctions. prepositions, and sentences. The dala analysis also shows that working experience has an effect on the use of English by the sample group. There are nine characteristics of English spoken by the sample group that are stalistically significant, namely, the use of arlicles, negativc sentences, subject omission, copula verbs, simple sentences, conjunctions, serial verbs. auxiliary verbs, and comparatives. Informants with more working experience use better English than those with less working experience in the use of 9 characteristics. except for the use of comparatives. The English spoken by infarmants, moreover, has eight features that are similar to Pidgin, namely, the repetition of words or phrases, the use of vocabulary, articles, subjecl-verb agreement, verbs, pronouns, prepositions, and sentence usage.
The obicctives of this research are to study learing methods and characteristics of the English used by female emptoyecs ot entertainmenl establishments in Patpong, and to compare the lalter with universal features of pidgins. The data consisis of taped intcrview in English of 30 female employees equally divided into three groups by working experiences. Informants' language is compared with the universal features of pidgins based on Bickerton (1981), Todd (1984) and Romaine (1994). The statistics used in this research are percentage, I-test and f-test. Research resutts show that the two most frequently used methods of studying English are memorization of the conversation that their other co-workers have with foreign customers, and asking their co-workers, the manager of the entertainment establishment, and foreign customers. Analysis of data shows that the English used by the sample group is diverted from standard English in nine categories, namely, the repetition of words or phrases, the use of vocabulary, nouns, pronouns, verbs, adjectives and adverbs, conjunctions. prepositions, and sentences. The dala analysis also shows that working experience has an effect on the use of English by the sample group. There are nine characteristics of English spoken by the sample group that are stalistically significant, namely, the use of arlicles, negativc sentences, subject omission, copula verbs, simple sentences, conjunctions, serial verbs. auxiliary verbs, and comparatives. Informants with more working experience use better English than those with less working experience in the use of 9 characteristics. except for the use of comparatives. The English spoken by infarmants, moreover, has eight features that are similar to Pidgin, namely, the repetition of words or phrases, the use of vocabulary, articles, subjecl-verb agreement, verbs, pronouns, prepositions, and sentence usage.
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะศิลปศาสตร์
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์