Publication: การศึกษาเปรียบเทียบความเชื่อของผู้เรียนและผู้สอนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย ที่มีต่อการอ่านภาษาญี่ปุ่น
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
Journal of Humanities Naresuan University
Journal of Humanities Naresuan University
Volume
17
Issue
1
Edition
Start Page
73
End Page
88
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การศึกษาเปรียบเทียบความเชื่อของผู้เรียนและผู้สอนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย ที่มีต่อการอ่านภาษาญี่ปุ่น
Alternative Title(s)
A Comparative Study of Non-native Japanese Learners’ and Lecturers’ Beliefs in Japanese Reading
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเชื่อของผู้เรียนและผู้สอนที่มีต่อการอ่านภาษาญี่ปุ่น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยอ้างอิงจากแบบสอบถามความเชื่อในการเรียนภาษาที่สอง (BALLI) ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นผู้เรียนวิชาเอกภาษาญี่ปุ่น จำนวน 183 คน และผู้สอนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย จำนวน 9 คน ในระดับมหาวิทยาลัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที (t-test)
ผลการศึกษาพบว่า 1) ความเชื่อด้านความถนัด และ 2) ความเชื่อด้านความยากที่มีต่อการอ่านภาษาญี่ปุ่น ผู้เรียนและผู้สอนมีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับปานกลาง 3) ความเชื่อด้านธรรมชาติและ 4) ความเชื่อด้านกลยุทธ์ในการเรียนการอ่านและการสื่อสาร ผู้เรียนและผู้สอนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 5) ด้านแรงจูงใจและความคาดหวังในการอ่านภาษาญี่ปุ่น ผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง ในขณะที่ผู้สอนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และเมื่อเปรียบเทียบ ความเชื่อของผู้เรียนและผู้สอนที่มีต่อการอ่านภาษาญี่ปุ่นแต่ละด้านพบว่า ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05