Publication: แพลตฟอร์มดิจิตอลในการพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตและการคาดการณ์ของตนเองที่ส่งผลให้เกิดขึ้นจริง เพื่อส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองของนักศึกษาสหกิจศึกษา
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1906-6988
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม (The Journal of Social Communication Innovation)
Volume
8
Issue
1
Edition
Start Page
181
End Page
196
Access Rights
Access Status
Rights
Copyright (c)
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
แพลตฟอร์มดิจิตอลในการพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตและการคาดการณ์ของตนเองที่ส่งผลให้เกิดขึ้นจริง เพื่อส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองของนักศึกษาสหกิจศึกษา
Alternative Title(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ (1) เพื่อออกแบบและพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิตอลในการพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตและการคาดการณ์ของตนเองที่ส่งผลให้เกิดขึ้นจริง เพื่อส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองของนักศึกษาสหกิจศึกษา และ (2) เพื่อทดสอบผลของแพลตฟอร์มดิจิตอลในการพัฒนากรอบความคิดแบบเติบโตและการคาดการณ์ของตนเองที่ส่งผลให้เกิดขึ้นจริง ต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองของนักศึกษาสหกิจศึกษา งานวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยแบบผสม กึ่งทดลอง มีกลุ่มทดลอง และ กลุ่มควบคุม เป็นนักศึกษาสหกิจศึกษาจำนวนทั้งหมด 72 คน การออกแบบและพัฒนากระบวนการใช้ ADDIE Model เครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณคือ แบบสอบถามเพื่อวัดการรับรู้ความสามารถของตนเองของนักศึกษาสหกิจศึกษาทั้งก่อนและหลังการปฏิบัติสหกิจศึกษา โดยใช้สถิติการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย การทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม และข้อมูลเชิงคุณภาพรวบรวมจากกระบวนการที่ได้พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย (1) การอบรมเรื่องกรอบความคิดแบบเติบโตและการคาดการณ์ของตนเองที่ส่งผลให้เกิดขึ้นจริง (2) การบันทึกสะท้อนการเรียนรู้ออนไลน์ (3) การประชุมกลุ่มย่อยออนไลน์ และ (4) การสัมภาษณ์รายบุคคล โดยใช้สถิติการวิเคราะห์เนื้อหาของข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ความสามารถของตนเองของนักศึกษาสหกิจศึกษาในกลุ่มทดลองมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ p<.001 ในขณะที่กลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ แสดงให้เห็นว่ากระบวนการมีผลต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองของนักศึกษาสหกิจศึกษา ผู้วิจัยจึงเสนอให้นำกระบวนการนี้ไปใช้กับนักศึกษาที่ไปปฏิบัติสหกิจศึกษาโดยให้ความสำคัญกับ (1) การประยุกต์ใช้ทุกขั้นตอนของกระบวนการร่วมกัน (2) การใช้แพลตฟอร์มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ดิจิทัลและเครื่องมือออนไลน์ (3) การมีส่วนร่วมของโค้ช ผู้นิเทศงานในสถานประกอบการ และอาจารย์นิเทศ และ (4) การส่งเสริมการสะท้อนคิดของนักศึกษาตลอดกระบวนการทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการปฏิบัติสหกิจศึกษา คำสำคัญ : กรอบความคิดแบบเติบโต / การคาดการณ์ของตนเองที่ส่งผลให้เกิดขึ้นจริง / การรับรู้ความสามารถของตนเอง / การบันทึกสะท้อนการเรียนรู้ออนไลน์ / การประชุมกลุ่มย่อยออนไลน์
The purposes of this study are (1) to design and develop growth mindset and self-fulfilling prophecy digital platform intervention to enhance Co-op students’ self-efficacy and (2) to investigate the effects of growth mindset and self-fulfilling prophecy digital platform intervention on Co-op students’ self-efficacy. This study used a quasi-experimental research design with a control and experimental groups totaling 72 Co-op students. The design and development was based on ADDIE design. The pre-test and post-test self-efficacy questionnaires were employed with paired-sample t-test analysis. The qualitative data was derived from intervention; using the content analysis. The designed intervention consisted of (1) work session; (2) reflective journal; (3) group discussion; and (4) individual interview. This study found that the self-efficacy of the experimental group revealed a statistical difference at p < .001 level while there is no statistically significant difference in the control group. It is recommended to implement intervention for Co-op students focusing on (1) employing integrated intervention; (2) utilizing the digital sharing platform; (3) engaging of coach; mentor; and professor; and (4) encouraging students’ reflection. Keywords: Growth mindset / Self-fulfilling prophecy / Self-efficacy / Reflective journal / Group discussion
The purposes of this study are (1) to design and develop growth mindset and self-fulfilling prophecy digital platform intervention to enhance Co-op students’ self-efficacy and (2) to investigate the effects of growth mindset and self-fulfilling prophecy digital platform intervention on Co-op students’ self-efficacy. This study used a quasi-experimental research design with a control and experimental groups totaling 72 Co-op students. The design and development was based on ADDIE design. The pre-test and post-test self-efficacy questionnaires were employed with paired-sample t-test analysis. The qualitative data was derived from intervention; using the content analysis. The designed intervention consisted of (1) work session; (2) reflective journal; (3) group discussion; and (4) individual interview. This study found that the self-efficacy of the experimental group revealed a statistical difference at p < .001 level while there is no statistically significant difference in the control group. It is recommended to implement intervention for Co-op students focusing on (1) employing integrated intervention; (2) utilizing the digital sharing platform; (3) engaging of coach; mentor; and professor; and (4) encouraging students’ reflection. Keywords: Growth mindset / Self-fulfilling prophecy / Self-efficacy / Reflective journal / Group discussion