Publication: โอะคุริงะนะในคำกริยาภาษาญี่ปุ่นรูปพจนานุกรม
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2013
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
Academic Journal of Humanities and Social Sciences Burapha University
Academic Journal of Humanities and Social Sciences Burapha University
Volume
21
Issue
35
Edition
Start Page
1
End Page
22
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
โอะคุริงะนะในคำกริยาภาษาญี่ปุ่นรูปพจนานุกรม
Alternative Title(s)
Okurigana in Japanese Verbs Appearing in Dictioary Form
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาคำกริยารูปพจนานุกรมภาษาญี่ปุ่นที่เขียนด้วยอักษรคันจิและลงท้ายด้วยโอะคุริงะว่า มีจำนวนคำเท่าใด โดยแบ่งตามกลุ่มที่มีเสียงท้ายเหมือนกัน ศึกษาลักษณะและจำนวนพยางค์ของโอะคุริงะนะ และศึกษารูปลักษณะเฉพาะของโอะคุริงะนะในคำกริยาประเภทอกรรมกริยาและสกรรมกริยา จากพจนานุกรมที่ใช้ในงานวิจัยมีทั้งหมด 4,793 คำ พบว่า คำกริยาในโครงสร้างแบบที่ 5 ซึ่งเป็นลักษณะของคำประสมมีจำนวนมากที่สุด 2,251 คำ รองลงมาเป็นคำกริยาในโครงสร้างแบบที่ 1 ซึ่งมีลักษณะของคำประสมมีจำนวนมากที่สุด 2,251 คำ อันดับที่สามเป็นคำกริยาในโครงสร้างแบบที่ 4 ซึ่งเป็นคำที่ประกอบขึ้นด้วยอักษรคันจิสองตัวตามด้วยโอะคุริงะนะ มี 489 คำ ในกลุ่มคำกริยาที่แบ่งตามเสียงท้ายคำกลุ่มที่มีจำนวนมากที่สุดคือ กลุ่มที่ลงท้ายกด้วยเสียง/-eru/ ที่มีจำนวน 1,392 คำ กลุ่มที่สองคือกลุ่มที่ลงท้ายด้วย る ru มีจำนวน 1,098 คำ กลุ่มที่สามคือกลุ่มที่ลงท้ายด้วย す su มีจำนวน 917 คำ กลุ่มที่ลงท้ายด้วย つ tsu, ぐ gu และ ぶ bu มีไม่ถึง 100 คำ และกลุ่มที่ลงท้ายด้วย ぬ nu มีเพียงสองคำ ในเรื่องลักษณะและจำนวนพยางค์ของโอะคุริงะนะพบว่า คำกริยาประเภทที่ 1 มีโอะคุริงะนะได้ตั้งแต่ 1 ถึง 5 พยางค์ โอะคุริงะนะ 1 พยางค์เกิดได้ในทุกกลุ่มเสียง คำกริยาประเภทที่ 2 มีจำนวน 3 ถึง 5 พยางค์ คำกริยาประเภทที่ 3 มะโอะคุริงะนะมากที่สุดเพียง 2 พยางค์ คำกริยาประเภทที่ 4 และ 5 มีโอะริคุริงะนะได้ตั้งแต่ 1 ถึง 4 พยางค์โออะคุริงะนะ 1 พยางค์เกิดได้ในทุกกลุ่มเสียง ในเรื่องลักษณะเฉพาะของโอะคุริงะนะในคำกริยาประเภทอกรรมกริยาและสกรรมกริยาพบว่า ไม่สามารถจะสร้างกฎที่แน่นอนเพื่ออธิบายได้ว่า เมื่อคำกริยาในรูปอกรรมกริยามีรูปแบบของโอะคุริงะนะเช่นนี้ คำกริยารูปสกรรมกริยาจะมีรูปแบบโอะคุริงะนะเช่นไร เพียงแต่อาจแบ่บกว้างๆ ได้ 3 แบบ คือเมื่ออกรรมกริยาลงท้ายด้วยเสียง /-u/ สกรรมกริยาจะลงท้ายด้วย す - su อกรรมกริยาลงท้ายด้วยเสียง /-u/ สกรรมกริยาจะลงท้ายด้วยเสียง -/e/ru และอกรรมกริยาลงท้ายด้วยเสียง -/e/ru สกรรมกริยาจะลงท้ายด้วยเสียง /-u/