Publication: Disjunctive Palimpsest: Tracing the French Detective in Postcolonial Laos
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2022
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2673-0502 (Online)
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Manutsayasat Wichakan
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ
Volume
29
Issue
1
Edition
Start Page
25
End Page
49
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Disjunctive Palimpsest: Tracing the French Detective in Postcolonial Laos
Alternative Title(s)
การศึกษาเปรียบเทียบอาชญนิยายชุดสิริ ไพบูน ของคอลิน ค็อตเทอริลล์ กับอาชญนิยายชุดจูลส์ เมเกรต์ ของฌอร์ฌ ซิมนง
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This article offers a study of a crime series written by Colin Cotterill (b. 1952), between 2004 and 2020, featuring Dr. Siri Paiboun, the national coroner of the Lao PDR in the late 1970s. It first focuses on the series’s palimpsestuous relation with the detective fiction of Georges Simenon (1903-1989), published between 1931 and 1972, whose main character is Inspector Jules Maigret of the French Criminal Investigation Division. Afterwards, a critical intersection of Gérard Genette’s concept of hypertextuality and Homi K. Bhabha’s notions of mimicry and hybridity establishes the Siri Paiboun series as a hypertext upon which the hypotext of Inspector Maigret has been grafted. Nonetheless, the study problematizes the palimpsestuous relation of the two series, contending that the Siri Paiboun series operates as a site where colonial mimicry deviates from and later disrupts the authority of colonial discourse epitomized by the convention of French police novels. The generic disjuncture, termed as hybridity (Bhabha, 2007), it is argued, manifests an attempt to engage French detective fiction within a different cultural context. Traversing national divides, the British author makes use of the genre, first, to delegitimize its colonial authority by questioning the status of Simenon’s series as a model of roman policier, and, second, to criticize the Lao dysfunctional judicial system while his Belgian predecessor seeks to endorse the institutional authority of the French police force, whereby crimes are punished and the rule of law is upheld.
บทความนี้นำเสนอการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างอาชญนิยายชุดสิริ ไพบูน ของคอลิน ค็อตเทอริลล์ นักเขียนชาวอังกฤษ (1952-), กับอาชญนิยายชุด Jules Maigret ของฌอร์ฌ ซิมนง นักเขียนชาวเบลเยี่ยม (1903-1989) ตัวละครหลักในอาชญนิยายชุดสิริ ไพบูน คือ แพทย์ชันสูตรศพของ สปป.ลาว ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1970 ในขณะที่ตัวละครหลักในอาชญนิยายชุด Jules Maigret คือ เจ้าหน้าที่สืบสวนของกรมตำรวจฝรั่งเศสระหว่างทศวรรษที่ 1930 ถึง 1970 การศึกษาครั้งนี้อาศัยแนวคิดเรื่อง palimpsest ของ Gérard Genette ร่วมกับแนวคิดเรื่อง mimicry และ hybridity ของ Homi K. Bhabha โดยนำเสนอว่าอาชญนิยายชุดสิริ ไพบูน เปรียบเสมือน hypertext ในขณะที่อาชญนิยายชุด Jules Maigret เปรียบเสมือน hypotext ซึ่งตัวบททั้งสองมีจุดที่คล้ายคลึงกันทั้งในด้านการสร้างตัวละคร สภาพแวดล้อม และแนวทางการทำงานในฐานะนักสืบ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าอาชญนิยายชุดสิริ ไพบูน จะถือเอาอาชญนิยายชุด Jules Maigret เป็นต้นแบบ แต่ผู้อ่านสามารถศึกษาอาชญนิยายชุดสิริ ไพบูน ในฐานะพื้นที่ในการต่อต้านวาทกรรมอาณานิคมที่มาในรูปของ อาชญนิยายภาษาฝรั่งเศสได้ โดยจุดที่แตกต่างระหว่างอาชญนิยายทั้งสองชุดนี้เปิดโอกาสให้นักสืบลาวได้ท้าทายวาทกรรมจากจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ครอบงำวัฒนธรรมท้องถิ่นลาว ในขณะเดียวกันก็ยังสามารถตั้งคำถามต่อกระบวนการยุติธรรมในช่วงที่เปลี่ยนผ่านจากระบอบการปกครองแบบราชอาณาจักรสู่ระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐสังคมนิยมอีกด้วย
บทความนี้นำเสนอการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างอาชญนิยายชุดสิริ ไพบูน ของคอลิน ค็อตเทอริลล์ นักเขียนชาวอังกฤษ (1952-), กับอาชญนิยายชุด Jules Maigret ของฌอร์ฌ ซิมนง นักเขียนชาวเบลเยี่ยม (1903-1989) ตัวละครหลักในอาชญนิยายชุดสิริ ไพบูน คือ แพทย์ชันสูตรศพของ สปป.ลาว ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1970 ในขณะที่ตัวละครหลักในอาชญนิยายชุด Jules Maigret คือ เจ้าหน้าที่สืบสวนของกรมตำรวจฝรั่งเศสระหว่างทศวรรษที่ 1930 ถึง 1970 การศึกษาครั้งนี้อาศัยแนวคิดเรื่อง palimpsest ของ Gérard Genette ร่วมกับแนวคิดเรื่อง mimicry และ hybridity ของ Homi K. Bhabha โดยนำเสนอว่าอาชญนิยายชุดสิริ ไพบูน เปรียบเสมือน hypertext ในขณะที่อาชญนิยายชุด Jules Maigret เปรียบเสมือน hypotext ซึ่งตัวบททั้งสองมีจุดที่คล้ายคลึงกันทั้งในด้านการสร้างตัวละคร สภาพแวดล้อม และแนวทางการทำงานในฐานะนักสืบ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าอาชญนิยายชุดสิริ ไพบูน จะถือเอาอาชญนิยายชุด Jules Maigret เป็นต้นแบบ แต่ผู้อ่านสามารถศึกษาอาชญนิยายชุดสิริ ไพบูน ในฐานะพื้นที่ในการต่อต้านวาทกรรมอาณานิคมที่มาในรูปของ อาชญนิยายภาษาฝรั่งเศสได้ โดยจุดที่แตกต่างระหว่างอาชญนิยายทั้งสองชุดนี้เปิดโอกาสให้นักสืบลาวได้ท้าทายวาทกรรมจากจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ครอบงำวัฒนธรรมท้องถิ่นลาว ในขณะเดียวกันก็ยังสามารถตั้งคำถามต่อกระบวนการยุติธรรมในช่วงที่เปลี่ยนผ่านจากระบอบการปกครองแบบราชอาณาจักรสู่ระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐสังคมนิยมอีกด้วย