Publication: สถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มการพัฒนาการสอบวัดระดับทักษะ การใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ในประเทศไทยตามความคิดเห็นของผู้เข้าสอบ
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารปัญญาภิวัฒน์
Panyapiwat Journal
Panyapiwat Journal
Volume
12
Issue
2
Edition
Start Page
300
End Page
314
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
สถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มการพัฒนาการสอบวัดระดับทักษะ การใช้ภาษาญี่ปุ่นเชิงธุรกิจ (BJT) ในประเทศไทยตามความคิดเห็นของผู้เข้าสอบ
Alternative Title(s)
THE CURRENT SITUATION AND OUTLOOK OF BJT BUSINESS JAPANESE PROFICIENCY TEST IN THAILAND AS SUGGESTED BY EXAMINEES’ OPINIONS
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันของการสอบ BJT ในประเทศไทย รวมถึงแนวโน้มในการพัฒนาของการสอบ BJT ตามมุมมองของผู้เข้าสอบ โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างผู้เข้าสอบ BJT เป็น 2 กลุ่มคือ นักศึกษาชาวไทยที่ศึกษาภาษาญี่ปุ่น 61 คน และผู้ประกอบวิชาชีพด้านภาษาญี่ปุ่น 53 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามที่เป็นการสำรวจเชิงปริมาณ และใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
จากการสำรวจพบว่า กลุ่มที่เป็นนักศึกษาชาวไทยที่ศึกษาภาษาญี่ปุ่นมีความเห็นว่าการสอบ BJT นั้นเป็นการสอบที่มีความยาก และคิดว่าความสามารถด้านภาษาญี่ปุ่นของตนนั้นยังไม่เหมาะสมกับการสอบ BJT เท่าที่ควร ในทางกลับกันสำหรับกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพด้านภาษาญี่ปุ่นมีความเห็นว่าการสอบดังกล่าว เป็นการวัดทักษะความรู้ทางด้านภาษาญี่ปุ่นที่มีความเหมาะสมกับระดับความรู้ของตนเป็นอย่างดีเนื่องจากเป็นข้อสอบที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการทำงาน อย่างไรก็ตามผู้เข้าสอบที่เป็นกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพด้านภาษาญี่ปุ่นนั้น ยังไม่ตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของการสอบเท่าที่ควร จึงเป็นสาเหตุหลักที่ส่งผลให้จำนวนผู้เข้าสอบ BJT ยังไม่มากเท่าที่ควร ดังนั้นเพื่อให้การสอบ BJT เป็นที่แพร่หลายมากขึ้น ผู้วิจัยคิดว่าต้องสร้างการรับรู้ คุณค่าและประโยชน์ของการสอบ BJT แก่ผู้เกี่ยวข้องกับการสอบ BJT ให้มากขึ้น โดยแนะนำการสอบ BJT ให้เป็นส่วนหนึ่งในการคัดเลือกรับบุคลากรเข้าทำงานของบริษัทญี่ปุ่นในประเทศไทย พร้อมทั้งกำหนดคะแนนการสอบให้เป็นเกณฑ์อย่างเป็นรูปธรรม