Publication: Thai University Students’ Voices Heard: Aspired Pronunciation Model
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2013
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2651-1347 (Print), 2672-989X (Online)
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Studies in the English Language
Volume
8
Issue
Edition
Start Page
124
End Page
153
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Thai University Students’ Voices Heard: Aspired Pronunciation Model
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
It has been agreed at the ASEAN Summit, the English language is positioned to becoming the working language of the region. To comply with this decision, it is essential that Thai students be prepared to be competent in the English language, particularly for international communication, through a modification of the present teaching and learning paradigms. When it comes to English pronunciation, little is known to date about Thai university students’ aspiration with regards to their pronunciation models. In order to shed some light into the issue, one questionnaire survey was conducted, in this study, to examine Thai university students’ attitudes about their English pronunciation to the question of conforming to native speaker norms or to the ideologies of WEs, EIL, or ELF which focus on intelligibility. The analysis of 387 responses from first and second year students studying in a public university demonstrates that Thai university students hold more favorable attitudes towards the model of native speakers, and that their views tend to differ from the expectations of teachers and academics. It is therefore of utmost importance for educators to take these views into consideration when making decisions related to national educational plans for English.
ที่ประชุมอาเซียนได้ตกลงให ้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้ ในการทํางานในบริบทของอาเซียนเพื่อให้สอดรับกับมติดังกล่าวผู้เรียนไทยจําต้องเตรียมตัวให้พร้อมกับการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อรองรับกับการสื่อสารในระดับสากลต่อไปในการนี้เองจําต้องมีการปรับกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการเรียนการสอนเพื่อสอดรับกับสถานการณ์ดังกล่าวในส่วนที่เกี่ยวกับการออกเสียงนั้นปัจจุบันเราแทบจะไม่ทราบเลยว่านักศึกษามหาวิ ทยาลัยปรารถนาย ึดการออกเสียงใดเป็นต้นแบบในการพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อให้ความกระจ่างในประเด็นนี้งานวิจัยนี้สํารวจความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยของประเทศไทยว่ามีทัศนคติเกี่ยวกับการพัฒนาการออกเสียงภาษาอังกฤษให้ได้ใกล้เคียงเจ้าของภาษาหรือมีความเชื่อสอดคล้องตามแนวคิดของ WEs (ภาษาอังกฤษในฐานะเป็นภาษาโลก) EIL (ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสากล) หรือ ELF (ภาษาอังกฤษในฐานะเป็นภาษากลาง) ซึ่งเน้นการออกเสียงภาษาอ ังกฤษที่พอเข้าใจได้จากการว ิเคราะห์คําตอบของแบบสอบถามรวม 387 ชุดจากนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 ของมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งหนึ่งพบว่าโดยรวมแล้วนักศึกษาเหล่านี้มีทัศนคต ิเอนเอียงไปในทิศทางที่ต้องการออกเสียงภาษาอ ังกฤษให้ใกล้เคียงเจ้าของภาษาอันแสดงถึงข้อค้นพบที่อาจแตกต่างไปจากความคาดหวังของครูผู้สอนและนักวิชาการหลายๆคนงานชิ้นนี้สะท้อนให้เห็นว่าในการตัดสินใจใดๆที่เกี่ยวกับการกําหนดทิศทางแผนการศึกษาของชาติจําเป็นต้องพิจารณาความเห็นของผู้เรียนด้วย
ที่ประชุมอาเซียนได้ตกลงให ้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้ ในการทํางานในบริบทของอาเซียนเพื่อให้สอดรับกับมติดังกล่าวผู้เรียนไทยจําต้องเตรียมตัวให้พร้อมกับการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อรองรับกับการสื่อสารในระดับสากลต่อไปในการนี้เองจําต้องมีการปรับกระบวนทัศน์เกี่ยวกับการเรียนการสอนเพื่อสอดรับกับสถานการณ์ดังกล่าวในส่วนที่เกี่ยวกับการออกเสียงนั้นปัจจุบันเราแทบจะไม่ทราบเลยว่านักศึกษามหาวิ ทยาลัยปรารถนาย ึดการออกเสียงใดเป็นต้นแบบในการพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อให้ความกระจ่างในประเด็นนี้งานวิจัยนี้สํารวจความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยของประเทศไทยว่ามีทัศนคติเกี่ยวกับการพัฒนาการออกเสียงภาษาอังกฤษให้ได้ใกล้เคียงเจ้าของภาษาหรือมีความเชื่อสอดคล้องตามแนวคิดของ WEs (ภาษาอังกฤษในฐานะเป็นภาษาโลก) EIL (ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสากล) หรือ ELF (ภาษาอังกฤษในฐานะเป็นภาษากลาง) ซึ่งเน้นการออกเสียงภาษาอ ังกฤษที่พอเข้าใจได้จากการว ิเคราะห์คําตอบของแบบสอบถามรวม 387 ชุดจากนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 ของมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งหนึ่งพบว่าโดยรวมแล้วนักศึกษาเหล่านี้มีทัศนคต ิเอนเอียงไปในทิศทางที่ต้องการออกเสียงภาษาอ ังกฤษให้ใกล้เคียงเจ้าของภาษาอันแสดงถึงข้อค้นพบที่อาจแตกต่างไปจากความคาดหวังของครูผู้สอนและนักวิชาการหลายๆคนงานชิ้นนี้สะท้อนให้เห็นว่าในการตัดสินใจใดๆที่เกี่ยวกับการกําหนดทิศทางแผนการศึกษาของชาติจําเป็นต้องพิจารณาความเห็นของผู้เรียนด้วย