Publication: การวิเคราะห์เชิงเปรียบต่างระหว่าง“กริยารูป teiku” ในภาษาญี่ปุ่น และ “กริยา + ไป” ในภาษาไทย: ข้อเสนอแนะสำหรับพัฒนาการสอนภาษาญี่ปุ่นสำหรับผู้เรียนชาวไทย
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Journal of Liberal Arts Thammasat University
Journal of Liberal Arts Thammasat University
Volume
21
Issue
1
Edition
Start Page
24
End Page
58
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การวิเคราะห์เชิงเปรียบต่างระหว่าง“กริยารูป teiku” ในภาษาญี่ปุ่น และ “กริยา + ไป” ในภาษาไทย: ข้อเสนอแนะสำหรับพัฒนาการสอนภาษาญี่ปุ่นสำหรับผู้เรียนชาวไทย
Alternative Title(s)
Contrastive Analysis of “Verb teiku” in Japanese and “Verb + pai” in Thai: Suggestions for Improving the Instruction of the Japanese Language to Thai Learners
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำผลการวิเคราะห์เปรียบต่างระหว่าง "กริยารูป teiku" ในภาษาญี่ปุ่นและรูป "กริยา + ไป" ในภาษาไทยไปเชื่อมโยงกับศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และเสนอแนะการพัฒนาการเรียนการสอนรูป teiku สำหรับผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย จากการวิเคราะห์ทำให้ทราบว่ารูป teiku ให้ความสำคัญกับประเด็นว่า "เคลื่อนที่อย่างไร" หรือให้ความสำคัญกับ "กระบวนการ" ในขณะที่ รูป "กริยา + ไป" จะให้ความสำคัญกับประเด็นว่า "(ใคร)อะไรเคลื่อนที่ไปถึงจุดใด" หรือให้ความสำคัญกับ "ผลลัพธ์" ความแตกต่างนี้ส่งผลให้เกิดการสอดคล้องที่ไม่เหมือนกันระหว่างรูปทั้งสอง วิธีใช้ที่ไม่สอดคล้องกันซึ่งเชื่อว่าน่าจะเข้าใจยากสำหรับผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย ได้แก่ วิธีใช้เชิงพื้นที่ keiki วิธีใช้เชิงเวลา keizoku และ takaiteki-keizoku
งานวิจัยนี้เสนอแนะสองประเด็นใหญ่คือ การแบ่งวิธีใช้ใหม่ระหว่างวิธีใช้เชิงพื้นที่ futai และ keiki และการจัดลำดับการสอนใหม่ให้เหมาะสมกับผู้เรียนชาวไทย สำหรับการจัดลำดับการสอนนั้น ในระดับต้นได้เสนอให้สอนวิธีใช้เชิงเวลา keizoku ที่เจ้าของภาษาใช้มาก โดยสอนในรูปของคำศัพท์แทนการสอนรูป tsureteiku เนื่องจากรูป tsureteiku ไม่น่าจะเป็นปัญหาสำหรับผู้เรียนชาวไทยเพราะมีความใกล้เคียงกับภาษาไทย และยังเสนอให้สอนวิธีใช้เชิงพื้นที่ keiki ในลำดับท้ายสุดใน 8 วิธีใช้ เพราะใช้น้อยมาก ประกอบกับเป็นวิธีใช้ที่เข้าใจยากสำหรับผู้เรียนชาวไทย นอกจากนี้ งานวิจัยนี้ยังชี้ให้เห็นถึงประเด็นที่ควรคำนึงเมื่อสอนรูป teiku อีกด้วย