Publication: 《论泰国华文长篇小说》
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2011
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
HCU Journal
วารสาร มฉก.วิชาการ
วารสาร มฉก.วิชาการ
Volume
14
Issue
28
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
《论泰国华文长篇小说》
Alternative Title(s)
การวิเคราะห์เรื่อง "นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทย"
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
东南亚华文文学中,泰国华文文学比其它华文文学,较本土性。泰华文学既不同于中国文化,与泰国文化大同小异,是具有自己鲜明特点的,有着独特文化内涵和文化取向的文学艺术。在东南亚各国中,泰国华侨数最多,泰国华人与泰国华人最能融合社会。泰国是接受中华文化较早的国家,在泰国的第一代王朝,就有中华文化进入泰国。中国传统 文 化 与 泰 国 文 化 进 行 了 融 合 的 很 好 的 , 并 且 在 交 融 的 基 础 上 进 行了变革,由此而创造了新的文化形式——泰国华文文学。泰国的华文文学就是在这样的历史文化背景下,逐渐发展起来的。 泰华文学是中华文学的一个支流,在二十世纪二十年代末到三十年代初,泰华文学产生了三次潮流,这都使泰华文学取得了很大的成就,特别是在小说创作方面,也使泰华文学始终向着现实主义的创作道路前进的。 抗战胜利后,有许多的华文作品横空出世,例如,姚万达的《一个嚼槟榔的绅士》、陈仃的《三聘姑娘》、等。谭真的《座山城之家》等等。1956年,倪长游、沈逸文等人合作写成第一部长篇接龙小说《破毕舍歪传》,在丘陵主编的《曼谷公园》上发表。1964 年,亦非等9人联手写了一篇反映曼谷下层华族人民困苦生活的接龙小说——《风雨耀华力》。 此后,泰华文学自身不断地在改变、发展,也在不断地成熟。二十世纪八九十年代以后,泰华文学开始大规模地走出湄南河,融入世界华文文学大家族中,经过不断地磨合,总于泰华文学立足本地,获得了新的发展生机。这个时期的泰华文学本质上还是中国文学在泰国的延伸与发展,但由于作品植根于泰国的生活土壤,揉进了异域的文化基因,其风格特色已与启蒙时期的泰华文学略有差异。在此篇的论文主要研究目的是研究在泰国,泰华文学的发展历程及其本研究得出这样结论表达的思想与成就。 本论文是泰国华文长篇小说,在前人研究成果的基础上,中国华人的作品表达在泰国文化和社会的干涉。用文学的研究和在泰国,中国,人民生活能适应泰国社会以及人们的研究视野。 泰华长篇小说的研究中,作为这样一个普篇的研究结果却并不多,集团可能是由于在泰国华人很少,中文的能力也少。文学,在泰国似乎多数是一种短文学或躺在文学,而不是长篇小说。
นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยมีความเป็นท้องถิ่นค่อนข้างโดดเด่นกว่าประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีการสอดแทรกวัฒนธรรมไทยมีเอกลักษณ์เที่แฝงศิลปะทาง วัฒนธรรมไทยอย่างโดดเด่นด้วย ชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยมีจำนวนมาก ในประเทศแถบเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ชาวจีนโพ้นทะเลเหล่านั้น ปรับตัวเข้ากับสังคมไทยได้เป็นอย่างดี วัฒนธรรมของจีน เข้าสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยและเกิดการสร้างสรรค์วรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยและมี การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยเป็นสาขาหนึ่งในวรรณคดีจีน วรรณคดีจีนในประเทศ ไทยเกิดความนิยมสามระลอกและได้รับผลสำเร็จเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการสร้างสรรค์ผลงานประ พันธ์ทางด้านนวนิยายทุกประเภทจึงทำให้นวนิยายภาษาจีนในประเทศไทยเป็นผลงานที่ได้รับความนิยม มากยิ่งขึ้น หลังสงครามโลกครั้งที่สองสงบ มีผลงานการประพันธ์นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทย ออกมา เช่น เหย่าว่านต๋า “สุภาพบุรุษเคี้ยวหมาก” เฉินติง “สาวสำเพ็ง” เป็นต้น ผลงานของถานเจิน “บ้านในเมืองภูเขา” เป็นต้น ปี 1956 หนีฉางโหย่ว และ เซิ่นอี้เหวินรวมเจ็ดคนร่วมกันเขียนนวนิยาย 接龙小说《破毕舍歪传》,ชิวหลิง เรียบเรียงเรื่อง《曼谷公园》ลงตีพิมพ์ ปี 1964 อี้เฝยกับ ผู้เขียนอีกเก้าคนร่วมกันเขียน นวนิยายที่สะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยในกรุงเทพ คือ เรื่อง เยาวราชในพายุฝน หลังจากนั้น นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องศตวรรษที่ 20 นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยเริ่มมีการขยายกว้างและมีการรวมกลุ่ม นักประพันธ์ของชาวจีนโพ้นทะเล นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยพัฒนาไปในแนวทางใหม่ๆ เนื่องจากรากฐานผลงานกับพื้นฐานการดำเนินชีวิตในประเทศไทยผสมผสานกับวัฒนธรรมของท้องถิ่นจึงมีรูปแบบโดดเด่นขึ้น ในวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ศึกษากระบวนการพัฒนาทางด้านนวนิยายเรื่องยาวภาษาจีน ในประเทศไทยรวมถึงวิจัยสังคมในศตวรรษที่ 20 นวนิยายภาษาจีนในประเทศไทยส่วนใหญ่จะบอกถึง ความคิดของตัวละครและผลที่รับในตอนจบด้วย งานวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยศึกษานวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยจากหนังสือที่ชาวจีนโพ้น ทะเลในประเทศไทยได้เขียนขึ้น มีการสอดแทรกวัฒนธรรมและสังคมไทยไว้ โดยใช้มุมมองของวรรณกร รมมาศึกษาค้นคว้าชีวิตความเป็นอยู่ของคนจีนในประเทศไทยว่าชาวจีนสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม ไทยได้เป็นอย่างดี ผลสรุปของการศึกษานวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทย พบว่า มีการแพร่หลายของ นวนิยายเรื่องยาวไม่แพร่หลายนัก เนื่องจากกลุ่มชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยยังมีจำนวนน้อยและผู้ที่ มีความสามารถทางด้านภาษาจีนยังมีจำนวนน้อย นวนิยายภาษาจีนที่ปรากฏในประเทศไทยส่วนใหญ่จึง เป็นนวนิยายเรื่องสั้นหรือกลอนสั้นมากกว่าที่จะเป็นนวนิยายเรื่องยาว
นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยมีความเป็นท้องถิ่นค่อนข้างโดดเด่นกว่าประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีการสอดแทรกวัฒนธรรมไทยมีเอกลักษณ์เที่แฝงศิลปะทาง วัฒนธรรมไทยอย่างโดดเด่นด้วย ชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยมีจำนวนมาก ในประเทศแถบเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ชาวจีนโพ้นทะเลเหล่านั้น ปรับตัวเข้ากับสังคมไทยได้เป็นอย่างดี วัฒนธรรมของจีน เข้าสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยและเกิดการสร้างสรรค์วรรณคดีจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยและมี การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยเป็นสาขาหนึ่งในวรรณคดีจีน วรรณคดีจีนในประเทศ ไทยเกิดความนิยมสามระลอกและได้รับผลสำเร็จเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการสร้างสรรค์ผลงานประ พันธ์ทางด้านนวนิยายทุกประเภทจึงทำให้นวนิยายภาษาจีนในประเทศไทยเป็นผลงานที่ได้รับความนิยม มากยิ่งขึ้น หลังสงครามโลกครั้งที่สองสงบ มีผลงานการประพันธ์นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทย ออกมา เช่น เหย่าว่านต๋า “สุภาพบุรุษเคี้ยวหมาก” เฉินติง “สาวสำเพ็ง” เป็นต้น ผลงานของถานเจิน “บ้านในเมืองภูเขา” เป็นต้น ปี 1956 หนีฉางโหย่ว และ เซิ่นอี้เหวินรวมเจ็ดคนร่วมกันเขียนนวนิยาย 接龙小说《破毕舍歪传》,ชิวหลิง เรียบเรียงเรื่อง《曼谷公园》ลงตีพิมพ์ ปี 1964 อี้เฝยกับ ผู้เขียนอีกเก้าคนร่วมกันเขียน นวนิยายที่สะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยในกรุงเทพ คือ เรื่อง เยาวราชในพายุฝน หลังจากนั้น นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องศตวรรษที่ 20 นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยเริ่มมีการขยายกว้างและมีการรวมกลุ่ม นักประพันธ์ของชาวจีนโพ้นทะเล นวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยพัฒนาไปในแนวทางใหม่ๆ เนื่องจากรากฐานผลงานกับพื้นฐานการดำเนินชีวิตในประเทศไทยผสมผสานกับวัฒนธรรมของท้องถิ่นจึงมีรูปแบบโดดเด่นขึ้น ในวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ศึกษากระบวนการพัฒนาทางด้านนวนิยายเรื่องยาวภาษาจีน ในประเทศไทยรวมถึงวิจัยสังคมในศตวรรษที่ 20 นวนิยายภาษาจีนในประเทศไทยส่วนใหญ่จะบอกถึง ความคิดของตัวละครและผลที่รับในตอนจบด้วย งานวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยศึกษานวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทยจากหนังสือที่ชาวจีนโพ้น ทะเลในประเทศไทยได้เขียนขึ้น มีการสอดแทรกวัฒนธรรมและสังคมไทยไว้ โดยใช้มุมมองของวรรณกร รมมาศึกษาค้นคว้าชีวิตความเป็นอยู่ของคนจีนในประเทศไทยว่าชาวจีนสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม ไทยได้เป็นอย่างดี ผลสรุปของการศึกษานวนิยายเรื่องยาวภาษาจีนในประเทศไทย พบว่า มีการแพร่หลายของ นวนิยายเรื่องยาวไม่แพร่หลายนัก เนื่องจากกลุ่มชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทยยังมีจำนวนน้อยและผู้ที่ มีความสามารถทางด้านภาษาจีนยังมีจำนวนน้อย นวนิยายภาษาจีนที่ปรากฏในประเทศไทยส่วนใหญ่จึง เป็นนวนิยายเรื่องสั้นหรือกลอนสั้นมากกว่าที่จะเป็นนวนิยายเรื่องยาว