Publication: 《现代汉泰词典》译文质疑──与杨汉川先生商榷
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2016
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
中國學研究期刊
Chinese Studies Journal
วารสารจีนศึกษา
Chinese Studies Journal
วารสารจีนศึกษา
Volume
9
Issue
1
Edition
Start Page
171
End Page
201
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
《现代汉泰词典》译文质疑──与杨汉川先生商榷
Alternative Title(s)
Some Questionable The Translations of "Modern Chinese Dictionary"—Discussion with Mr. Yang Hanchuan
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการแปล “พจนานุกรมไทย-จีน” ─ พินิจพิเคราะห์ร่วมกับคุณเธียรชัย เอี่ยมวรเมธ
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการแปล “พจนานุกรมไทย-จีน” ─ พินิจพิเคราะห์ร่วมกับคุณเธียรชัย เอี่ยมวรเมธ
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
近几年来,泰国的汉语教学处于方兴未艾的状态,学习汉语的人数达百万之多1,而且还有不断增长的趋势,杨汉川先生(เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ)经过许多年的辛勤耕耘,编译出版了《现代汉泰词典》。母庸置疑,该词典在推动泰国的汉语教学,传播中华文化等方面发挥了巨大的作用。但作为工具书的词典,它应具备宗旨明确、体例严密、收词精当、注释准确、举例简练等特点。笔者在翻阅《现代汉泰词典》的过程中,无意中发现杨汉川先生在注释准确方面尚存在不少问题,有些内容是属于望文生义的解读,产生了偏误,如:安~能若无其事?ทำอย่างไรจึงจะตั้งสติได้ล่ะ上述的译文是错误的,其要害是译者对文中的“若无其事”的意思没弄懂所导致的。这句话的准确译文应该是:จะทำเป็นไม่รู้ไม่ชี้ได้อย่างไรล่ะ 或จะทำหน้าตาเฉยได้อย่างไรล่ะ。出于对社会负责,针对《现代汉泰词典》中出现的问题提出质疑,与杨汉川先生商榷,也请海内外方家指正。
In recent years, Chinese teaching has just been unfolding in Thailand. The number of students studying Chinese language in Thailand is over onemillion and still growing rapidly. With years of hard work, Mr. Yang Hanchuang compiled Modern Chinese and Thai Dictionary. It promoted development of Chinese teaching in Thailand greatly as well as spreading Chinese culture. As a tool for users, a dictionary should have a clear purpose, close style, precisely words collecting, accurate notes and succinct examples. Modern Chinese and Thai Dictionary, however, has some problems in its notes accurate. The translation of some parts take the words too literally but not the same as original. These problems may give rise to misunderstanding for its users. Therefore, I questioned the problems in this paper and the discussion with Mr. Yang Hanchuang. I hope this paper could suggest the right way to the dictionary compiling and improvement of the next editor.
ในช่วงระยะเวลาหลายปีมานี้ การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยเป็นที่นิยมแพร่หลายอย่างมาก รวมทั้งจานวนผู้เรียนภาษาจีนในประเทศไทยนั้นมีจานวนเพิ่มขึ้นกว่าล้านคน นอกจากนี้ยังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง คุณเธียรชัย เอี่ยมวรเมธ ผู้ซึ่งมีประสบการณ์ด้านภาษาจีนมาเป็นระยะเวลาหลายปี ได้เรียบเรียง “พจนานุกรมจีน-ไทย” ขึ้น โดยพจนานุกรมฉบับดังกล่าวมีบทบาทสาคัญยิ่งทั้งในด้านการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย และการเผยแพร่วัฒนธรรมจีน แต่ทว่าในฐานะที่พจนานุกรมดังกล่าวเป็นตาราเพื่อการเรียนรู้ ดังนั้นจึงควรมีจุดเด่น ไม่ว่าจะเป็นในด้านความถูกต้องชัดเจน รูปแบบที่กระชับ การรวบรวมคาศัพท์ที่ถูกต้องแม่นยา มีคาอธิบายที่ถูกต้อง รวมทั้งการยกตัวอย่างที่ง่ายต่อการนาไปใช้ เป็นต้น ในระหว่างที่ผู้เขียนได้เปิดอ่าน “พจนานุกรมจีน-ไทย” นั้น ได้พบกับข้อผิดพลาดในการอธิบายความหมายคาศัพท์ที่ไม่ถูกต้องของคุณเธียรชัยโดยบังเอิญ บางจุดเกิดจากความเข้าใจผิดในภาษาต้นฉบับ ยกตัวอย่างเช่น “安 ~能若无其事” แปลว่า “ทาอย่างไรจึงจะตั้งสติได้ล่ะ” ซึ่งเป็นการแปลที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากผู้เขียนเข้าใจภาษาต้นฉบับผิด จึงควรแปลว่า “จะทาเป็นไม่รู้ไม่ชี้ได้อย่างไรล่ะ ” เป็นต้น ด้วยเหตุนี้เพื่อเป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ผู้เขียนจึงขอตั้งขอสังเกตเกี่ยวกับข้อผิดพลาดบางประการที่ปรากฏในพจนนานุกรมเล่มนี้ และถือโอกาสนี้ร่วมปรึกษาหารือเพื่อวิเคราะห์ปัญหาดังกล่าวร่วมกับคุณเธียรชัย รวมทั้งยินดีน้อมรับคาวิจารณ์จากผู้รู้ทั้งในและต่างประเทศ
In recent years, Chinese teaching has just been unfolding in Thailand. The number of students studying Chinese language in Thailand is over onemillion and still growing rapidly. With years of hard work, Mr. Yang Hanchuang compiled Modern Chinese and Thai Dictionary. It promoted development of Chinese teaching in Thailand greatly as well as spreading Chinese culture. As a tool for users, a dictionary should have a clear purpose, close style, precisely words collecting, accurate notes and succinct examples. Modern Chinese and Thai Dictionary, however, has some problems in its notes accurate. The translation of some parts take the words too literally but not the same as original. These problems may give rise to misunderstanding for its users. Therefore, I questioned the problems in this paper and the discussion with Mr. Yang Hanchuang. I hope this paper could suggest the right way to the dictionary compiling and improvement of the next editor.
ในช่วงระยะเวลาหลายปีมานี้ การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยเป็นที่นิยมแพร่หลายอย่างมาก รวมทั้งจานวนผู้เรียนภาษาจีนในประเทศไทยนั้นมีจานวนเพิ่มขึ้นกว่าล้านคน นอกจากนี้ยังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง คุณเธียรชัย เอี่ยมวรเมธ ผู้ซึ่งมีประสบการณ์ด้านภาษาจีนมาเป็นระยะเวลาหลายปี ได้เรียบเรียง “พจนานุกรมจีน-ไทย” ขึ้น โดยพจนานุกรมฉบับดังกล่าวมีบทบาทสาคัญยิ่งทั้งในด้านการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย และการเผยแพร่วัฒนธรรมจีน แต่ทว่าในฐานะที่พจนานุกรมดังกล่าวเป็นตาราเพื่อการเรียนรู้ ดังนั้นจึงควรมีจุดเด่น ไม่ว่าจะเป็นในด้านความถูกต้องชัดเจน รูปแบบที่กระชับ การรวบรวมคาศัพท์ที่ถูกต้องแม่นยา มีคาอธิบายที่ถูกต้อง รวมทั้งการยกตัวอย่างที่ง่ายต่อการนาไปใช้ เป็นต้น ในระหว่างที่ผู้เขียนได้เปิดอ่าน “พจนานุกรมจีน-ไทย” นั้น ได้พบกับข้อผิดพลาดในการอธิบายความหมายคาศัพท์ที่ไม่ถูกต้องของคุณเธียรชัยโดยบังเอิญ บางจุดเกิดจากความเข้าใจผิดในภาษาต้นฉบับ ยกตัวอย่างเช่น “安 ~能若无其事” แปลว่า “ทาอย่างไรจึงจะตั้งสติได้ล่ะ” ซึ่งเป็นการแปลที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากผู้เขียนเข้าใจภาษาต้นฉบับผิด จึงควรแปลว่า “จะทาเป็นไม่รู้ไม่ชี้ได้อย่างไรล่ะ ” เป็นต้น ด้วยเหตุนี้เพื่อเป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ผู้เขียนจึงขอตั้งขอสังเกตเกี่ยวกับข้อผิดพลาดบางประการที่ปรากฏในพจนนานุกรมเล่มนี้ และถือโอกาสนี้ร่วมปรึกษาหารือเพื่อวิเคราะห์ปัญหาดังกล่าวร่วมกับคุณเธียรชัย รวมทั้งยินดีน้อมรับคาวิจารณ์จากผู้รู้ทั้งในและต่างประเทศ