Publication: Mestiza Reality and the Dream of Philippine NationalisminNick Joaquin’s “The Woman Who Had Two Navels”
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2017
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2630-0370
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Human Sciences
มนุษยศาสตร์สาร
มนุษยศาสตร์สาร
Volume
18
Issue
2
Edition
Start Page
12
End Page
42
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Mestiza Reality and the Dream of Philippine NationalisminNick Joaquin’s “The Woman Who Had Two Navels”
Alternative Title(s)
ความจริงของเมสติซา และความฝันของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ใน โดย นิค จาวควิน “ผู้หญิงที่มีสองสะดือ”
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This paper explores the trajectory of Filipinas in the development of Philippine national identity in the allegorical short story, “The Woman Who Had Two Navels” by Nick Joaquin, a renowned Filipino writer. In this story, set in the early years of Philippine national formation, the female protagonists negotiate their mestiza identity which is fraught with the contradictions of the country’s multiple colonialisms. On the other hand, Joaquin’s portrayal of the male characters and their interactions with the female protagonists reflect the failure of masculinist Philippine nationalism. Within a feminist postcolonial theoretical context, my paper argues that Joaquin’s extensive use of symbolism helps reiterate the idea of woman as nation/motherland. When the men fail twice to protect the Philippines from imperialist invasions and eventually leave the country, it is time for women to take initiative. The recurring images of women either in the depiction of a woman-like mountain or in the form of seductive women chasing male Filipino expatriates in Hong Kong is a potent metaphor for the Philippines, a bereaved mother/nation beckoning young Filipinos to come back to the Philippines to restore nationhood. Although returning to the Philippines seems impossible for the male characters, the author Joaquin posits that Philippine nationalism is indeed an ongoing process which can be achieved only when both men and women collaborate in their attempts to reconcile the fractures and incongruities found at both personal and national levels.
บทความวิจัยนี้สำรวจการเดินทางของผู้หญิงชาวฟิลิปปินส์ในการพัฒนาอัตลักษณ์ความเป็นชาติของตนเองในเรื่องสั้นแนวเปรียบเทียบ หรือ อุปมานิทัศน์ เรื่อง “ผู้หญิงที่มีสองสะดือ” เขียนโดย นิค จาวควิน ซึ่งเป็นนักเขียนชาวฟิลิปปินส์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของประเทศ เมื่อเรื่องสั้นเรื่องนี้เริ่มต้นขึ้นในช่วงปีแรกๆ ของการสร้างชาติ ตัวละครเอกหญิงทั้งสองถูกนำเสนอในลักษณะของการต่อรองอัตลักษณ์เมสติซา หรือ อัตลักษณ์ลูกผสมของตน ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการต่อสู้กับความขัดแย้งหลายประการของประเทศฟิลิปปินส์ หลังจากที่ประเทศนี้ได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของหลากหลายประเทศจ้าวอาณานิคมเป็นระยะเวลายาวนาน นอกจากนี้ จาวควิน ยังได้นำเสนอภาพแทนของตัวละครชายและปฏิสัมพันธ์ของตัวละครเหล่านี้ที่มีต่อตัวละครเอกหญิงเพื่อสะท้อนให้เห็นความล้มเหลวของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ที่นำโดยผู้ชาย บทความนี้ต้องการจะชี้ให้เห็นว่าการใช้สัญลักษณ์ของจาวควินในเรื่องสั้นเรื่องนี้สามารถนำมาวิเคราะห์ภายในบริบทของทฤษฎีสตรีนิยมหลังอาณานิคม ซึ่งจะช่วยเน้นย้ำแนวคิดที่ว่าผู้หญิงเปรียบเสมือนชาติ / แผ่นดินแม่ เรื่องสั้นเรื่องนี้แสดงให้เห็นว่าเมื่อฝ่ายชายล้มเหลวถึงสองครั้งในการปกป้องประเทศจากการรุกรานของจ้าวอาณานิคม และท้ายที่สุดชายเหล่านั้นต้องหลบหนีออกจากแผ่นดินแม่ จึงถึงเวลาที่ฝ่ายหญิงต้องริเริ่มที่จะทำหน้าที่ปกป้องประเทศแทนชายเหล่านั้น จินตภาพของผู้หญิงที่ถูกบรรยายซ้ำๆ กันตลอดเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นการบรรยายภาพของภูเขาที่มีลักษณะเหมือนผู้หญิง หรือ การเล่าเรื่องผู้หญิงที่มีเสน่ห์เย้ายวนใจวิ่งไล่ตามผู้ชายชาวฟิลิปปินส์พลัดถิ่นในเมืองฮ่องกง ล้วนแล้วแต่เป็นการอุปมาอุปไมยถึงประเทศฟิลิปปินส์ เสมือนว่าประเทศนี้เป็น แม่ผู้เศร้าโศก/แผ่นดินแม่ ซึ่งเฝ้ารอคอยการกลับมาของชายหนุ่มฟิลิปปินส์เพื่อกลับมาสร้างชาติ ถึงแม้ว่าการกลับมายังประเทศฟิลิปปินส์ของตัวละครชายจะเป็นไปไม่ได้ในเรื่องสั้นเรื่องนี้ แต่จาวควินชี้แนะว่าลัทธิชาตินิยมของฟิลิปปินส์เป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง และจะสามารถประสบความสำเร็จได้ก็เมื่อทั้งผู้ชายและผู้หญิงร่วมมือกันเท่านั้น ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะขจัดความแตกแยก และความไม่สมัครสมานสามัคคีกันที่พบได้ทั้งในระดับตนเองและระดับชาติ
บทความวิจัยนี้สำรวจการเดินทางของผู้หญิงชาวฟิลิปปินส์ในการพัฒนาอัตลักษณ์ความเป็นชาติของตนเองในเรื่องสั้นแนวเปรียบเทียบ หรือ อุปมานิทัศน์ เรื่อง “ผู้หญิงที่มีสองสะดือ” เขียนโดย นิค จาวควิน ซึ่งเป็นนักเขียนชาวฟิลิปปินส์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งของประเทศ เมื่อเรื่องสั้นเรื่องนี้เริ่มต้นขึ้นในช่วงปีแรกๆ ของการสร้างชาติ ตัวละครเอกหญิงทั้งสองถูกนำเสนอในลักษณะของการต่อรองอัตลักษณ์เมสติซา หรือ อัตลักษณ์ลูกผสมของตน ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการต่อสู้กับความขัดแย้งหลายประการของประเทศฟิลิปปินส์ หลังจากที่ประเทศนี้ได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของหลากหลายประเทศจ้าวอาณานิคมเป็นระยะเวลายาวนาน นอกจากนี้ จาวควิน ยังได้นำเสนอภาพแทนของตัวละครชายและปฏิสัมพันธ์ของตัวละครเหล่านี้ที่มีต่อตัวละครเอกหญิงเพื่อสะท้อนให้เห็นความล้มเหลวของลัทธิชาตินิยมฟิลิปปินส์ที่นำโดยผู้ชาย บทความนี้ต้องการจะชี้ให้เห็นว่าการใช้สัญลักษณ์ของจาวควินในเรื่องสั้นเรื่องนี้สามารถนำมาวิเคราะห์ภายในบริบทของทฤษฎีสตรีนิยมหลังอาณานิคม ซึ่งจะช่วยเน้นย้ำแนวคิดที่ว่าผู้หญิงเปรียบเสมือนชาติ / แผ่นดินแม่ เรื่องสั้นเรื่องนี้แสดงให้เห็นว่าเมื่อฝ่ายชายล้มเหลวถึงสองครั้งในการปกป้องประเทศจากการรุกรานของจ้าวอาณานิคม และท้ายที่สุดชายเหล่านั้นต้องหลบหนีออกจากแผ่นดินแม่ จึงถึงเวลาที่ฝ่ายหญิงต้องริเริ่มที่จะทำหน้าที่ปกป้องประเทศแทนชายเหล่านั้น จินตภาพของผู้หญิงที่ถูกบรรยายซ้ำๆ กันตลอดเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นการบรรยายภาพของภูเขาที่มีลักษณะเหมือนผู้หญิง หรือ การเล่าเรื่องผู้หญิงที่มีเสน่ห์เย้ายวนใจวิ่งไล่ตามผู้ชายชาวฟิลิปปินส์พลัดถิ่นในเมืองฮ่องกง ล้วนแล้วแต่เป็นการอุปมาอุปไมยถึงประเทศฟิลิปปินส์ เสมือนว่าประเทศนี้เป็น แม่ผู้เศร้าโศก/แผ่นดินแม่ ซึ่งเฝ้ารอคอยการกลับมาของชายหนุ่มฟิลิปปินส์เพื่อกลับมาสร้างชาติ ถึงแม้ว่าการกลับมายังประเทศฟิลิปปินส์ของตัวละครชายจะเป็นไปไม่ได้ในเรื่องสั้นเรื่องนี้ แต่จาวควินชี้แนะว่าลัทธิชาตินิยมของฟิลิปปินส์เป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง และจะสามารถประสบความสำเร็จได้ก็เมื่อทั้งผู้ชายและผู้หญิงร่วมมือกันเท่านั้น ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะขจัดความแตกแยก และความไม่สมัครสมานสามัคคีกันที่พบได้ทั้งในระดับตนเองและระดับชาติ