Publication: ทัศนคติของผู้เรียนต่อโครงงานมัคคุเทศก์ภาษาญี่ปุ่น ณ แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นสำหรับมัคคุเทศก์
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา
Journal of Ayutthaya Studies Institute
Journal of Ayutthaya Studies Institute
Volume
12
Issue
2
Edition
Start Page
107
End Page
120
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
ทัศนคติของผู้เรียนต่อโครงงานมัคคุเทศก์ภาษาญี่ปุ่น ณ แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นสำหรับมัคคุเทศก์
Alternative Title(s)
Learners' Attitudes toward Japanese Guide Project on Tourist Attractions, Phranakhon Si Ayutthaya Province in Japanese for Tourist Guide Course
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้เรียนต่อโครงงานมัคคุเทศก์ภาษาญี่ปุ่น ณ แหล่งท่องเที่ยว จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ดำเนินการในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นสำหรับมัคคุเทศก์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา “ภาษาญี่ปุ่นสำหรับมัคคุเทศก์” ซึ่งเป็นวิชาเลือกในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ชั้นปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ จำนวน ๓๕ คน เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าทัศนคติของผู้เรียนต่อโครงงานมัคคุเทศก์ภาษาญี่ปุ่นโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ที่ค่าเฉลี่ย ๓.๗๑ (SD=1.01) เมื่อพิจารณาทัศนคติรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านการพัฒนาภาษาญี่ปุ่น มีค่าเฉลี่ย ๓.๗๑ (SD=1) และด้านการเรียนรู้ข้อมูลของแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ซึ่งมีค่าเฉลี่ย ๓.๗๑ (SD=0.99) เท่ากัน รองลงมาคือด้านการเรียนวิชาภาษาญี่ปุ่นสำหรับมัคคุเทศก์ ค่าเฉลี่ย ๓.๗๐ (SD=1.02) เมื่อพิจารณารายข้อคำถามใน ๓ ด้านรวมกันพบว่า การสร้างโอกาสในการแสดงออกศักยภาพตนเอง มีค่าเฉลี่ยสูงสุดที่ ๔.๐๐ (SD= 1.08) การพัฒนาทักษะการวางแผน คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา มีค่าเฉลี่ยรองลงมาที่ ๓.๙๗ (SD=0.92) และความเข้าใจเนื้อหาวิชากระจ่าง ชัดเจน มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดที่ ๓.๓๗ (SD= 1.03)