Publication: การวิเคราะห์ "วาทลีลา" ในโวหารทางการเมืองของนายชวน หลีกภัย ตามแนวภาษาศาสตร์และวาทศาสตร์
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2004
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การวิเคราะห์ "วาทลีลา" ในโวหารทางการเมืองของนายชวน หลีกภัย ตามแนวภาษาศาสตร์และวาทศาสตร์
Alternative Title(s)
A linguistic and rhetorical analysis of Chuan Leekpai's style of political oratory
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ โครงสร้าง "วาทลีลา" ในโวหารทางการเมือง ของนายซวน หลีกภัย เพื่อพิจารณาดูความสัมพันธ์ของโครงสร้าง "วาทลีดา" กับบทบาทหน้าที่ ทางภาษา โดยเก็บร้อมูลจากเทปวีดิทัศน์การอภิปรายของนายชวน หลีกภัย ในรัฐสภา จำนวน 2 ชุด ได้แก่ เทปวีดิทัศน์การอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีทั้งคณะ ขณะที่นายชวน หลีกภัย ดำรง ตำแหน่งผู้นำฝ่ายค้าน ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรสมัยสามัญ ครั้งที่ 2 / 2540 ในวันที่ 24 -
26 กันยายน พ.ศ. 2540 และการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีทั้งคณะในการประชุมสภาผู้แทน ราษฎรสมัยสามัญ ครั้งที่ 29, 30. 31 ในวันที่ 18 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2541 ในขณะที่นายชวน หลีกภัย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยวิเคราะห์ข้อมูลแต่ละชุดสัมพันธ์กับบทบาทและหน้าที่ ทางภาษาที่เกิดขึ้น ผลการวิจัยพบว่าบทบาทและหน้าที่ทางภาษาที่พบจากข้อมูลมีจำนวน 10 บทบาทซึ่ง สัมพันธ์กับโครงสร้าง "วาทลีลา" ที่ประกอบด้วยสัทภาคและอวัจนภาค สัทภาคที่พบส่วนใหญ่ ได้แก่สัทสภาพปกติ ซึ่งสัมพันธ์กับบทบาทและหน้าที่ทางภาษาต่างๆถึง 8 บทบาทที่ใช้สัทสภาพ ของเสียงปกติร่วมกับการลงน้ำหนักปกติ และใช้ความดังปานกลางค่อนข้างมาก แสดงความดัง อยู่ในช่วง 70-80 เดซิเบล และในจำนวนนี้มี 2 บทบาท ที่ใช้สัทสภาพของเสียงแทรกลมหายใจ สัมพันธ์กับบทบาทและหน้าที่ทางภาษาแสดงความรู้สึก ตลอดจนบทบาทและหน้าที่ทางภาษาใน การแสดงทัศนะ ผลการวิจัยหบว่าบทบาทและหน้าที่ทางภาษาที่พบจากข้อมูลมีจำนวน 10 บทบาทรึ่ง สัมพันธ์กับโครงสร้าง "วาหลีลา" ที่ประกอบด้วยสัทภาคและอวัจนภาค สัทภาคที่พบส่วนใหญ่ ได้แก่สัทสภาพปกติ ซึ่งสัมพันธ์กับบทบาทและหน้าที่ทางภาษาต่างๆถึง 8 บทบาทที่ใช้สัทสภาพ ของเสียงปกติร่วมกับการลงน้ำหนักปกติ และใช้ความดังปานกลางค่อนข้างมาก แสดงความดัง อยู่ในช่วง 70-80 เดซิเบล และในจำนวนนี้มี 2 บทบาท ที่ใช้สัทสภาพของเสียงแทรกลมหายใจ สัมพันธ์กับบทบาทและหน้าที่ทางภาษาแสดงความรู้สึก ตลอดจนบทบาทและหน้าที่ทางภาษาใน การแสดงทัศนะ สำหรับปรากฎการณ์ทางเสียงที่พบในการแสดงโวหารทางการเมืองนอกเหนือไปจาก สัทสภาพ ความดังและการลงน้ำหนัก พบว่านายชวน หลีกภัย มีการยึดเสียงประกอบการพูด การออกเสียงในลักษณะตัดพยางค์ การลดระดับความดังของเสียงท้ายประโยค ประกอบกับมี การพูดโดยใช้สัทลักษณ์ของสำเนียงภาษาแม่คือ ภาษาถิ่นใต้ ร่วมด้วย ซึ่งจะปรากฎในลักษณะ การพูดภาษาเชิงเสนอแนะกึ่งทางการ ในส่วนอวัจนภาคพบว่ามีการเคลื่อนไหวศีรษะในลักษณะ ต่างๆมากกว่าอวัจนลักษณ์อื่นๆที่ปรากฏ ซึ่งได้แก่ การเคลื่อนไหวลำตัว การเคลื่อนไหวแขน การเคลื่อนไหวดวงตา สำหรับบทบาทและหน้าที่ทางภาษาที่มีการเปลี่ยนแปลงในส่วนสัทภาค และอวัจนภาคน้อยที่สุด ได้แก่ บทบาทและหน้าที่ทางภาษาแสดงการเบิกความ เป็นลักษณะการพูดด้วยลีลาที่เป็นทางการมากที่สุด
This study aims to investigate "eloquence" in Mr. Chuan Leekpai's parliarnentary debates in terms of "rhetorical structure" in relation to function of language. Two sets of data were obtained form video-taped recordings of Mr. Chuan Leekpai' s parliamentary debates in September 1997, while he was an opposition leader, and in March 1998, while he was the Prime Minister. The rhetorical structure, i.e. phonetic and kinesic components of the utterances, was analysed in conjunction with ten functions of language. It was found that the main phonetic characteristics are voice quality, loudness and accentuation. Normal voice quality is associated with eight functions, while breathy voice quality is associated with two functions. Breathy voice quality connects with the expressive function of language and opinion. Most utterances are made with normal accentuation and are within the range of medium loudness. Moreover, phonetic phenomena in political oratory include, elision, extention, reduction of volume in final sentence particles, and using the phonetic features of the mother tongue "Southern Thai Dialect" These appear in consultative. In kinesic components, various forms of head movement are found more frequently than body, arm, eye, movement. The function of language in which phonetic and kinesic components are least changed is the function of language in openingremarks. It is formal style.
This study aims to investigate "eloquence" in Mr. Chuan Leekpai's parliarnentary debates in terms of "rhetorical structure" in relation to function of language. Two sets of data were obtained form video-taped recordings of Mr. Chuan Leekpai' s parliamentary debates in September 1997, while he was an opposition leader, and in March 1998, while he was the Prime Minister. The rhetorical structure, i.e. phonetic and kinesic components of the utterances, was analysed in conjunction with ten functions of language. It was found that the main phonetic characteristics are voice quality, loudness and accentuation. Normal voice quality is associated with eight functions, while breathy voice quality is associated with two functions. Breathy voice quality connects with the expressive function of language and opinion. Most utterances are made with normal accentuation and are within the range of medium loudness. Moreover, phonetic phenomena in political oratory include, elision, extention, reduction of volume in final sentence particles, and using the phonetic features of the mother tongue "Southern Thai Dialect" These appear in consultative. In kinesic components, various forms of head movement are found more frequently than body, arm, eye, movement. The function of language in which phonetic and kinesic components are least changed is the function of language in openingremarks. It is formal style.
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะศิลปศาสตร์
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์