Publication: Analysis of Sentence Structures through Translation for a Reading Task
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2014
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2651-1347 (Print), 2672-989X (Online)
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Studies in the English Language
Volume
9
Issue
Edition
Start Page
98
End Page
122
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Analysis of Sentence Structures through Translation for a Reading Task
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
The study aimed to diagnose students’ problems in sentence structures which affect their reading comprehension. The study was conducted with 84 mixed-ability students who enrolled in an undergraduate university-level fundamental English course. The translation method was used as a medium for data collection. The students were asked to provide an English-Thai translation of a twelvesentence story where seven common grammatical points were the concern—present and past participles, infinitives and gerunds, passive voices, adjective clauses, and noun clauses. They were varied in distribution, and each was found a maximum of two times in the story. The glossary of vocabulary presumed unknown to the students was provided in the passage. Two Thai raters who were researchers graded the students’ written work. The results show that most of the students could not translate the sentences accurately since they did not know the sentence structures. Although the students could understand the whole meaning of the sentences, they were uncertain in the accurate use of certain grammatical points. This led to misconception and affected comprehension in reading pertaining to the deep meaning the text conveyed.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาปัญหาของนักศึกษาในเรื่องโครงสร้างประโยค ที่ส่งผลกระทบต่อความเข้าใจในการอ่าน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีระดับความสามารถหลากหลาย จำนวน 84 คน ผู้ซึ่งลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน เก็บข้อมูลโดยใช้วิธีการแปลนักศึกษาทำการแปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย เนื้อหาที่แปลเป็นเรื่อง ที่มีความยาวจำนวน 12 ประโยค ประกอบด้วยโครงสร้างไวยากรณ์ 7 ประเภท ได้แก่ คุณศัพท์วลีที่ขึ้นต้นด้วย –ing และ –ed, วลีที่ขึ้นต้นด้วยรูปกริยาที่ไม่ผัน มี to นำหน้า และ –ing, กรรมวาจก, คุณศัพท์วลี และนามวลี โครงสร้างไวยากรณ์ทั้ง 7 ประเภท จะถูกนำเสนอประเภทละ2 ครั้ง และจะถูกคละให้กระจายอยู่ในเรื่องที่แปล ตอนท้ายของแต่ละประโยค จะมีอภิธานศัพท์ประกอบ ในการประเมินงานแปลของนักศึกษา ใช้ผู้ประเมินหรือผู้วิจัย จำนวน 2 คน ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ไม่สามารถแปลประโยคได้อย่างถูกต้อง เนื่องจากไม่รู้โครงสร้างประโยค และถึงแม้ว่านักศึกษาจะเข้าใจความหมายของประโยคในภาพรวม แต่ก็ยังคงไม่แน่ใจในเรื่องโครงสร้างไวยากรณ์ จึงทำให้เกิดความเข้าใจผิด และส่งผลกระทบต่อความเข้าใจในการอ่าน
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาปัญหาของนักศึกษาในเรื่องโครงสร้างประโยค ที่ส่งผลกระทบต่อความเข้าใจในการอ่าน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีระดับความสามารถหลากหลาย จำนวน 84 คน ผู้ซึ่งลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน เก็บข้อมูลโดยใช้วิธีการแปลนักศึกษาทำการแปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย เนื้อหาที่แปลเป็นเรื่อง ที่มีความยาวจำนวน 12 ประโยค ประกอบด้วยโครงสร้างไวยากรณ์ 7 ประเภท ได้แก่ คุณศัพท์วลีที่ขึ้นต้นด้วย –ing และ –ed, วลีที่ขึ้นต้นด้วยรูปกริยาที่ไม่ผัน มี to นำหน้า และ –ing, กรรมวาจก, คุณศัพท์วลี และนามวลี โครงสร้างไวยากรณ์ทั้ง 7 ประเภท จะถูกนำเสนอประเภทละ2 ครั้ง และจะถูกคละให้กระจายอยู่ในเรื่องที่แปล ตอนท้ายของแต่ละประโยค จะมีอภิธานศัพท์ประกอบ ในการประเมินงานแปลของนักศึกษา ใช้ผู้ประเมินหรือผู้วิจัย จำนวน 2 คน ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ไม่สามารถแปลประโยคได้อย่างถูกต้อง เนื่องจากไม่รู้โครงสร้างประโยค และถึงแม้ว่านักศึกษาจะเข้าใจความหมายของประโยคในภาพรวม แต่ก็ยังคงไม่แน่ใจในเรื่องโครงสร้างไวยากรณ์ จึงทำให้เกิดความเข้าใจผิด และส่งผลกระทบต่อความเข้าใจในการอ่าน