Publication: การวิเคราะห์บทความวิชาการด้านการออกเสียงภาษาอังกฤษในช่วงสองทศวรรษด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2022
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2697-5211
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Lawarath Social e-Journal
Volume
4
Issue
1
Edition
Start Page
97
End Page
114
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การวิเคราะห์บทความวิชาการด้านการออกเสียงภาษาอังกฤษในช่วงสองทศวรรษด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
Alternative Title(s)
Examining the Trends of Second Language Pronunciation Articles: A Two-Decade Content Analysis
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
The purpose of this study is to examine the research trends in the field of second language (L2) pronunciation teaching and learning using content analysis. The articles were selected from four research journals including English Language Teaching, CATESOL Journal, Educational Technology & Society, and World Englishes between 2001 and 2020. The total of 39 scholarly articles were reviewed to determine 1) number of publications, 2) countries, 3) topics, 4) samples, 5) methods, and 6) dependent variables. The results showed that the number of L2 pronunciation research was increasing in 2005, most publications were published in China, the topics that were most emphasized were the development of phonetic awareness through technology, qualitative research methods were most frequently used, students were preferred as research participants, and the most important language features were English consonants and stress. The results show the general tendency of second language pronunciation research in a global context.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มของงานวิจัยด้านการเรียนการสอนการออกเสียงภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศด้วยวิธีวิเคราะห์เนื้อหาโดยบทความวิจัยที่น าวิเคราะห์มาจากวารสารวิชาการจ านวน4 วารสารได้แก่English Language Teaching, CATESOL Journal, EducationalTechnology & Society, and World Englishes ซึ่งตีพิมพ์ในช่วงปี2544 ถึงปี2564 งานวิจัยจ านวนทั้งสิ้น39 เรื่องโดยน ามาวิเคราะห์เกี่ยวกับ1) จ านวนบทความที่ตีพิมพ์2) ประเทศที่ท าการวิจัย3) หัวเรื่องของงานวิจัย4) กลุ่มตัวอย่าง5) วิธีวิจัยและ6) ตัวแปรตามที่ใช้ในงานวิจัยผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่างานวิจันด้านการเรียนการสอนการออกเสียงภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศมีจ านวนเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี2548 โดยประเทศจีนเป็นประเทศที่มีการท าวิจัยด้านนี้มากที่สุดหัวข้อที่มีการศึกษามากที่สุดคือการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการอกเสียงภาษาอังกฤษวิธีวิจัยที่ใช้ส่วนใหญ่คืองานวิจัยเชิงคุณภาพกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงายวิจัยส่วนใหญ่คือนักศึกษาระดับปริญญาตรีและตัวแปรตามที่ใช้ในงานวิจัยส่วนใหญ่คือเสียงพยัญชนะและการเน้นค าในภาษาอังกฤษผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มโดยทั่วไปของการศึกษาวิจัยด้านการเรียนการสอนการพัฒนาการออกเสียงภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศในระดับนานาชาติ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มของงานวิจัยด้านการเรียนการสอนการออกเสียงภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศด้วยวิธีวิเคราะห์เนื้อหาโดยบทความวิจัยที่น าวิเคราะห์มาจากวารสารวิชาการจ านวน4 วารสารได้แก่English Language Teaching, CATESOL Journal, EducationalTechnology & Society, and World Englishes ซึ่งตีพิมพ์ในช่วงปี2544 ถึงปี2564 งานวิจัยจ านวนทั้งสิ้น39 เรื่องโดยน ามาวิเคราะห์เกี่ยวกับ1) จ านวนบทความที่ตีพิมพ์2) ประเทศที่ท าการวิจัย3) หัวเรื่องของงานวิจัย4) กลุ่มตัวอย่าง5) วิธีวิจัยและ6) ตัวแปรตามที่ใช้ในงานวิจัยผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่างานวิจันด้านการเรียนการสอนการออกเสียงภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศมีจ านวนเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี2548 โดยประเทศจีนเป็นประเทศที่มีการท าวิจัยด้านนี้มากที่สุดหัวข้อที่มีการศึกษามากที่สุดคือการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการอกเสียงภาษาอังกฤษวิธีวิจัยที่ใช้ส่วนใหญ่คืองานวิจัยเชิงคุณภาพกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงายวิจัยส่วนใหญ่คือนักศึกษาระดับปริญญาตรีและตัวแปรตามที่ใช้ในงานวิจัยส่วนใหญ่คือเสียงพยัญชนะและการเน้นค าในภาษาอังกฤษผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มโดยทั่วไปของการศึกษาวิจัยด้านการเรียนการสอนการพัฒนาการออกเสียงภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศในระดับนานาชาติ