Publication: การปฏิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕ ในสายตาของ “คนนอก” เอกสารทางการทูตว่าด้วยสยามยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง
dc.contributor.author | ภูริ ฟูวงศ์เจริญ | |
dc.contributor.author | Puli Fuwongcharoen | en |
dc.contributor.editor | อรทัย ก๊กผล | |
dc.contributor.editor | Orathai Kokpol | en |
dc.coverage.temporal | 1932-1932 | |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T09:09:53Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T09:09:53Z | |
dc.date.issued | 2016 | |
dc.date.issuedBE | 2559 | |
dc.description.abstract | ใครหลายคนคงตั้งข้อสังเกตว่า การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสยามยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองได้หวนกลับมาคึกคักอีกครั้งหนึ่ง ดังสะท้อนให้เห็นจาก งานวิชาการที่เพิ่มจํานวนขึ้นค่อนข้างต่อเนื่องตลอด 5-6 ปีที่แล้วมา แต่ถึงกระนั้น เพื่อรับประกันว่า การสร้างองค์ความรู้เรื่องการปฏิวัติสยามจะสามารถดําเนินไปอย่าง มีน้ําหนัก และปูทางสู่การเปิดประเด็นแปลกใหม่ เรายังมีภารกิจสําคัญที่ควรเอาใจใส่คือ การขยายแหล่งข้อมูลชั้นต้นให้ครอบคลุมกว้างขวางยิ่งกว่าเดิม โดยแนวทางหนึ่ง ในการรับมือก็อยู่ที่การนําเอกสารทางการทูตเข้ามาประกอบ บทความนี้ต้องการชักชวนผู้วิจัยให้พิจารณาใช้ประโยชน์จากเอกสารทางการทูต เนื้อหาของบทความจะเริ่มต้นจากการบรรยายคุณค่าของเอกสารทางการทูตในฐานะวัตถุดิบสําหรับฉายภาพความเป็นไปของสยามยุคหลังการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ต่อจากนั้น จึงค่อยไล่สํารวจการทํางานของสถานทูตที่มีบทบาทในสยามสมัยนั้นรวม 4 ชาติ คือ อังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา พร้อมยกตัวอย่างเอกสารประกอบ | |
dc.description.abstract | Many have probably noticed that the study of Siam following the fall of the old regime has regained momentum, as evidenced by a fairly steady increase in the number of scholarly works in the field during the past five to six years. Nevertheless, in order to ensure that the accumulation of knowledge concerning the Siamese Revolution will proceed soundly as well as pave the way for original arguments, we still have an important mission that deserves attention: that is, to widen our primary sources and make them more comprehensive. In handling such a mission, one solution is to draw on diplomatic documents. This article seeks to induce researchers to take diplomatic documents into account. It begins by outlining the value of such documents as materials for casting light upon the conditions in Siam after the revolution on 24 June 1932. The article will survey the activities of four embassies that were then active in Siam – the British, French, Japanese, and American embassies – while offering sample documents. | en |
dc.identifier.issn | 2730-3896 | |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/7484 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | กองบรรณาธิการวารสารสถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้า | |
dc.subject.isced | 0222 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.subject.oecd | 6.1 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.title | การปฏิวัติ พ.ศ. ๒๔๗๕ ในสายตาของ “คนนอก” เอกสารทางการทูตว่าด้วยสยามยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง | |
dc.title.alternative | The Revolution of 1932 in the eyes of “outsiders” Diplomatic documents concerning Siam after the fall of the old regime | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 488 | |
harrt.researchArea | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchGroup | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchTheme.1 | ประวัติศาสตร์ไทย | |
harrt.researchTheme.2 | ประวัติศาสตร์การเมือง | |
mods.location.url | https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244166/165566 | |
oaire.citation.endPage | 62 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 47 | |
oaire.citation.title | วารสารสถาบันพระปกเกล้า | |
oaire.citation.title | King Prajadhipok's Institute Journal | en |
oaire.citation.volume | 14 |