Publication: The existence of the tradition of Moon Festival in Hat Yai District, Songkhla Province
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2017
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Liberal Arts Prince of Songkla University
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Volume
9
Issue
2
Edition
Start Page
283
End Page
300
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
The existence of the tradition of Moon Festival in Hat Yai District, Songkhla Province
Alternative Title(s)
การดำรงอยู่ของประเพณีไหว้พระจันทร์ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This article aims to investigate the existence of the tradition of Moon Festival in Hat Yai District, Songkhla Province. The data of this qualitative study were gathered from related documents, research reports, and in-depth interviews with Thai Chinese in Hat Yai District, Songkhla Province. The study found that the tradition of Moon Festival could be maintained with two types of adaptation. One is a ritual performed in the morning in which Thai Chinese take offerings to pay respect to the Goddess of the Moon at a shrine. The other is a ritual performed at night at home with a shorter ritual of paying respect at an earlier time because the working-age group of people has to wake up early in the morning to go to work. Offering items have been changed to suit the modern time, and bought in smaller quantities due to the sluggish economy. It can be said that the tradition of Moon Festival in Hat Yai can be maintained amidst social changes because Thai Chinese in Hat Yai unite to adapt the ritual and make it suitable for life in the age of globalization.
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำรงอยู่ของประเพณีไหว้พระจันทร์ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยเก็บข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากชาวไทยเชื้อสายจีนในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ผลการศึกษาพบว่า ประเพณีไหว้พระจันทร์สามารถดำรงอยู่ได้แต่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของพิธีกรรม เป็น 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่หนึ่ง ในช่วงเช้าของวันไหว้พระจันทร์ชาวไทยเชื้อสายจีนจะนำของเซ่นไหว้ไปไหว้เจ้าแม่พระจันทร์ที่ศาลเจ้าแล้วกลับมาไหว้พระในบ้าน รูปแบบที่สอง จัดโต๊ะไหว้พระจันทร์ในเวลากลางคืน มีการย่อพิธีกรรมการไหว้ให้สั้นลง ปรับเปลี่ยนเวลาไหว้ให้เร็วขึ้นเพราะกลุ่มวัยทำงานต้องตื่นเช้าไปทำงานนอกบ้าน เปลี่ยนแปลงสิ่งของที่นำมาไหว้ตามยุคสมัยโดยจะซื้อของเซ่นไหว้ในปริมาณลดลงเพราะสภาพเศรษฐกิจฝืดเคือง อาจกล่าวได้ว่าประเพณีไหว้พระจันทร์ในอำเภอหาดใหญ่สามารถดำรงอยู่ได้ท่ามกลางกระแสสังคมเพราะวิถีพลังของชาวไทยเชื้อสายจีนในอำเภอหาดใหญ่ที่ผนึกกำลังกันปรับเปลี่ยนพิธีกรรมให้สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตในยุคโลกาภิวัตน์
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำรงอยู่ของประเพณีไหว้พระจันทร์ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยเก็บข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากชาวไทยเชื้อสายจีนในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ผลการศึกษาพบว่า ประเพณีไหว้พระจันทร์สามารถดำรงอยู่ได้แต่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของพิธีกรรม เป็น 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่หนึ่ง ในช่วงเช้าของวันไหว้พระจันทร์ชาวไทยเชื้อสายจีนจะนำของเซ่นไหว้ไปไหว้เจ้าแม่พระจันทร์ที่ศาลเจ้าแล้วกลับมาไหว้พระในบ้าน รูปแบบที่สอง จัดโต๊ะไหว้พระจันทร์ในเวลากลางคืน มีการย่อพิธีกรรมการไหว้ให้สั้นลง ปรับเปลี่ยนเวลาไหว้ให้เร็วขึ้นเพราะกลุ่มวัยทำงานต้องตื่นเช้าไปทำงานนอกบ้าน เปลี่ยนแปลงสิ่งของที่นำมาไหว้ตามยุคสมัยโดยจะซื้อของเซ่นไหว้ในปริมาณลดลงเพราะสภาพเศรษฐกิจฝืดเคือง อาจกล่าวได้ว่าประเพณีไหว้พระจันทร์ในอำเภอหาดใหญ่สามารถดำรงอยู่ได้ท่ามกลางกระแสสังคมเพราะวิถีพลังของชาวไทยเชื้อสายจีนในอำเภอหาดใหญ่ที่ผนึกกำลังกันปรับเปลี่ยนพิธีกรรมให้สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตในยุคโลกาภิวัตน์