Publication: ความเชื่อต่อครูผู้สอนภาษาญี่ปุ่นชาวญี่ปุ่น : ผลสำรวจจากแบบสอบถามของผู้เรียนและบริษัทย่อยของญี่ปุ่น
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2015
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารญี่ปุ่นศึกษา
Japanese Journal Studies
Japanese Journal Studies
Volume
32
Issue
1
Edition
Start Page
15
End Page
32
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
ความเชื่อต่อครูผู้สอนภาษาญี่ปุ่นชาวญี่ปุ่น : ผลสำรวจจากแบบสอบถามของผู้เรียนและบริษัทย่อยของญี่ปุ่น
Alternative Title(s)
What Native Japanese Teachers Should Offer : Survey Results from Questionnaire with Students and Japanese Companies
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาความเชื่อที่มีต่อครูสอนภาษาญี่ปุ่นชาวญี่ปุ่น เกี่ยวกับบทบาทการสอนภาษาญี่ปุ่นในมหาวิทยาลัยของไทย ผู้วิจัยได้ทําาการสําารวจโดยแจกแบบสอบถามกับบริษัทญี่ปุ่นที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย และนักศึกษา (ที่จบการศึกษาแล้วและที่กําาลังศึกษาอยู่) ของมหาวิทยาลัยรัฐชั้นนําา 3 แห่ง พบว่า ความเชื่อของกลุ่มคนเหล่านี้ที่มีต่อครูสอนภาษาญี่ปุ่นที่เป็นเจ้าของภาษามีทั้งหมด 8 ประการ คือ การสร้าง ความชิดใกล้ และความไว้วางใจต่อผู้เรียน การเป็นผู้อําานวยความสะดวก การบรรลุบทบาทการเป็นผู้ให้คําาปรึกษา การเป็นผู้ประสานงานติดต่อระหว่างบริษัทกับผู้เรียน การมีคุณสมบัติของนักขาย การมีความรู้ที่กว้างขวางและมีประสบการณ์อื่นนอกเหนือจากการเป็นครู การมีจิตใจทะเยอทะยานและมีความเชี่ยวชาญสูงขึ้น และการเป็นคนนานาชาติอย่างแท้จริง ซึ่งเข้าใจความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมและรู้กระจ่างในวัฒนธรรมของตนงานวิจัยชิ้นนี้วิเคราะห์ความเชื่อ 8 ประการที่มีต่อครูสอนภาษาญี่ปุ่นที่เป็นเจ้าของภาษา รวมทั้งชี้ให้เห็นถึงความสําาคัญของการติดต่อร่วมมือกันระหว่างภาคธุรกิจ ภาครัฐและมหาวิทยาลัยเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นในประเทศไทย ให้เหมาะสมกับความต้องการและสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคม ที่เปลี่ยนแปลงต่อไปในอนาคต