Publication: การศึกษาเปรียบเทียบสำนวนเชื่อมความภาษาญี่ปุ่นในตำราวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา
JSN Journal
JSN Journal
Volume
8
Issue
พิเศษ
Edition
Start Page
159
End Page
173
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การศึกษาเปรียบเทียบสำนวนเชื่อมความภาษาญี่ปุ่นในตำราวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์
Alternative Title(s)
A Comparative Study of Japanese Conjunctive Expressions on Humanities and Science Textbooks
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
เนื่องด้วยภาษาญี่ปุ่นมีสำนวนเชื่อมความจำนวนมาก เพื่อศึกษาวิธีการแยกใช้สำนวนเชื่อมความให้มีประสิทธิภาพจึงจำเป็นที่จะต้องศึกษาความแตกต่างในการใช้งาน โดยเกณฑ์หนึ่งนอกเหนือจากเกณฑ์ทางความหมาย คือ วัจนลีลา(文体)ด้วยเหตุนี้บทความวิจัยฉบับนี้ จึงศึกษาความแตกต่างในการใช้สำนวนเชื่อมความที่ปรากฏในบทเขียนที่มีวัจนลีลาแตกต่างกัน โดยเลือกบทเขียนที่เป็นตำราด้านมนุษยศาสตร์กับด้านวิทยาศาสตร์มาเปรียบเทียบ และในเบื้องต้นได้ศึกษาเฉพาะสำนวนที่ปรากฏต้นย่อหน้าที่ทำหน้าที่เชื่อมโยงย่อหน้าให้เป็นหนึ่งเดียวกัน โดยอ้างอิงการศึกษาสำนวนที่ปรากฏในตำราด้านสังคมศาสตร์ของ石黒(2016) ผลการวิเคราะห์สำนวนเชื่อมความ 654 ตัวอย่าง พบว่าตำราด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ที่นำมาศึกษาพบสำนวนเทียบความ (เช่น「一方」) และสำนวนตามความ「こうして」「このように」ที่มีสัดส่วนการใช้งานสูง และพบการใช้สำนวนเชื่อมความพิเศษที่ไม่ค่อยปรากฏใช้ทั่วไป เช่น「ついで」ในตำราประวัติศาสตร์และ「よって」ในตำราคณิตศาสตร์ นอกจากนี้ ยังพบตัวอย่างการใช้「すなわち」「なお」 และคำกริยาวิเศษณ์เพื่อเชื่อมความที่มีการใช้งานต่างกันตามความแตกต่างของวัจนลีลา