Publication: กลวิธีการแปลอนุพากย์จากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Journal of the Faculty of Arts, Silpakorn University
Journal of the Faculty of Arts, Silpakorn University
Volume
43
Issue
1
Edition
Start Page
70
End Page
88
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
กลวิธีการแปลอนุพากย์จากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย
Alternative Title(s)
Japanese-Thai Translation Strategies for Connecting Clauses
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการแปลอนุพากย์จากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากวรรณกรรมภาษาญี่ปุ่นและฉบับแปลเป็นภาษาไทย เมื่อพิจารณาจากโครงสร้างของประโยคในต้นฉบับและบทแปล อาจแบ่งออกได้เป็น 1.การแปลโดยใช้โครงสร้างตามต้นฉบับ กล่าวคือ โครงสร้าง “อนุพากย์เชื่อมความ+อนุพากย์หลัก” (หรือสลับลำดับ) โดยอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทย่อย คือ ก.กรณีไม่ใช้คำเชื่อม เนื่องจากความหมายของอนุพากย์ชัดเจน แม้ไม่ใช้คำเชื่อม ผู้อ่านก็น่าจะทำความเข้าใจความหมายได้ไม่ยาก พบมากในการแปลอนุพากย์เชื่อมความ แสดงเหตุการณ์ต่อเนื่อง และสาเหตุ เหตุผล และ ข.กรณีใช้คำเชื่อม ผู้แปลมีแนวโน้มใช้คำเชื่อมที่แสดงความหมายสอดคล้องกับประเภทความหมายของอนุพากย์ (เช่น อนุพากย์แสดงเหตุการณ์ต่อเนื่อง ใช้คำเชื่อมแสดง “ลำดับ”) เป็นที่น่าสังเกตว่า ผู้แปลมีการใช้คำเชื่อมค่อนข้างหลากหลายมาก อีกทั้งยังพบว่าคำเชื่อมบางคำมีวิธีการใช้ที่มีลักษณะเฉพาะตัว (เช่น คำเชื่อมแสดงสาเหตุ “เพราะ” ไม่นิยมวางไว้ต้นประโยค) 2. การแปลโดยใช้รูปแบบประโยคเดี่ยว พบการใช้โครงสร้างกริยาเรียง การใช้กริยาเรียงโดยมีคำเชื่อมระหว่างคำกริยา การปรับสำนวน และปรับโครงสร้างประโยค