Publication: การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียในการเรียนตัวอักษรคันจิด้วยเทคนิคเชื่อมโยงจากรูปภาพ
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2015
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารญี่ปุ่นศึกษา
Japanese Journal Studies
Japanese Journal Studies
Volume
32
Issue
1
Edition
Start Page
33
End Page
50
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียในการเรียนตัวอักษรคันจิด้วยเทคนิคเชื่อมโยงจากรูปภาพ
Alternative Title(s)
The Development of Multimedia for Learning Kanji Characters through Picture-Linked Techniques
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
บทความนี้อธิบายผลของการวิจัย เรื่อง การใช้สื่อมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการเรียนการสอนตัวอักษร คันจิด้วยเทคนิคเชื่อมโยงจากรูปภาพโดยมีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการ คือ เพื่อทดลองสื่อมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้นมาสําาหรับใช้ในการเรียนการสอนตัวอักษรคันจิในวิชาภาษาญี่ปุ่นให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน 2 กลุ่ม ประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 ที่กําาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ของโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ กรุงเทพมหานคร จําานวน 54 คน แบ่งเป็นกลุ่มนักเรียนที่เรียนโดยใช้สื่อมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้นมากับกลุ่มนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มละ 27 คนเท่ากัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ สื่อมัลติมีเดียที่ผู้วิจัยสร้างและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าประสิทธิภาพของสื่อมัลติมีเดียและการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยสถิติทดสอบทีผลการวิจัยพบว่า สื่อมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 กล่าวคือ ผลจากการทดลองใช้กับนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อมัลติมีเดียมีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 94.07/93.29 ซึ่งสูงกว่าค่ามาตรฐานที่ตั้งไว้ แสดงว่าสื่อมัลติมีเดียที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมานั้นมีประสิทธิภาพจริง สามารถนําาเอาไปใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอนได้ และค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้สื่อมัลติมีเดียสูงกว่าการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสําาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่าผลจากวิธีการเรียนด้วยสื่อมัลติมีเดียที่ ผู้วิจัยสร้างขึ้นมานั้นมีประสิทธิภาพดีกว่าผลจากวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติ