Publication: Ontological Metaphor Translation from English into Thai in the Non-fiction Book Into the Wild and its Translation into the Thai Version Kao Pa Ha Chiwit
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2022
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1906-7208 (P-ISSN), 2651-1126 (E-ISSN)
eISSN
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Volume
14
Issue
2
Edition
Start Page
1
End Page
45
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Ontological Metaphor Translation from English into Thai in the Non-fiction Book Into the Wild and its Translation into the Thai Version Kao Pa Ha Chiwit
Alternative Title(s)
การแปลอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ประเภทอุปลักษณ์เชิงรูปธรรมในสารคดีเรื่อง Into the Wild และฉบับแปลภาษาไทย เรื่อง เข้าป่าหาชีวิต
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
The objective of this qualitative research is to study conceptual metaphor translation from English ito Thai in the non-fiction book Into the Wild by Jon Krakauer (2011) and its translation into the Thai version Kao Pa Ha Chiwit by Thidarat Charoenchaichana (2016). The book has interesting content; there are stories relayed to people; showing differences in language, society and culture. According to the research results, 634 conceptual metaphors were found, namely 490 ontological metaphors, 106 structural metaphors and 38 orientational metaphors. In particular, this paper explores only translation strategies of ontological conceptual metaphor. In terms of translation analysis, six translation strategies are employed. The most frequently used method for translating ontological metaphor is converting metaphor to sense. Thsi reflects how ontological metaphor requires interpretation and explanation from translator more than any other method of translation. These results contribute directly to translators working on ontological metaphor in English-Thai on-fiction, or can be applied to other types of translation works and teaching and learning of translation.
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการแปลอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ประเภทอุปลักษณ์เชิงรูปธรรมในสารคดี จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย โดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ คือ การศึกษาเอกสารจากสารคดีเรื่อง Into the Wild ของ จอน แครคาวเออร์ (2011) และฉบับแปลภาษาไทย เรื่อง เข้าป่าหาชีวิต โดย ธิดารัตน์ เจริญชัยชนะ (2559) หนังสือมีเนื้อหาที่น่าสนใจมีเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างทางด้านภาษา สังคมและวัฒนธรรม ผลการศึกษาพบอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์จำนวนทั้งสิ้น 634 อุปลักษณ์ แบ่งออกเป็นอุปลักษณ์เชิงรูปธรรม จำนวน 490 อุปลักษณ์ อุปลักษณ์เชิงโครงสร้าง จำนวน 106 อุปลักษณ์ และอุปลักษณ์เชิงทิศทางและการเคลื่อนที่ จำนวน 38 อุปลักษณ์ ตามลำดับ ในการแปลอุปลักษณ์เชิงรูปธรรม ผู้แปลใช้กลวิธีการแปลทั้งหมด 6 กลวิธี กลวิธีการแปลที่พบมากที่สุด คือ กลวิธีการแปลแบบตีความหรืออธิบายความในภาษาปลายทางซึ่งแสดงให้เห็นว่าในการแปลอุปลักษณ์เชิงรูปธรรม จำเป็นต้องอาศัยการตีความหรือเพิ่มคำอธิบายของผู้แปลมากกว่ากลวิธีอื่น ๆ ผลการศึกษานี้จึงนับเป็นแนวทางอันเป็นประโยชน์โดยตรงต่อนักแปลในการแปลอุปลักษณ์เชิงรูปธรรมในวรรณกรรมประเภทสารคดีจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยหรือนำไปประยุกต์ใช้งานแปลประเภทอื่น ๆ และการเรียนการสอนเกี่ยวกับการแปล
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการแปลอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ประเภทอุปลักษณ์เชิงรูปธรรมในสารคดี จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย โดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ คือ การศึกษาเอกสารจากสารคดีเรื่อง Into the Wild ของ จอน แครคาวเออร์ (2011) และฉบับแปลภาษาไทย เรื่อง เข้าป่าหาชีวิต โดย ธิดารัตน์ เจริญชัยชนะ (2559) หนังสือมีเนื้อหาที่น่าสนใจมีเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างทางด้านภาษา สังคมและวัฒนธรรม ผลการศึกษาพบอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์จำนวนทั้งสิ้น 634 อุปลักษณ์ แบ่งออกเป็นอุปลักษณ์เชิงรูปธรรม จำนวน 490 อุปลักษณ์ อุปลักษณ์เชิงโครงสร้าง จำนวน 106 อุปลักษณ์ และอุปลักษณ์เชิงทิศทางและการเคลื่อนที่ จำนวน 38 อุปลักษณ์ ตามลำดับ ในการแปลอุปลักษณ์เชิงรูปธรรม ผู้แปลใช้กลวิธีการแปลทั้งหมด 6 กลวิธี กลวิธีการแปลที่พบมากที่สุด คือ กลวิธีการแปลแบบตีความหรืออธิบายความในภาษาปลายทางซึ่งแสดงให้เห็นว่าในการแปลอุปลักษณ์เชิงรูปธรรม จำเป็นต้องอาศัยการตีความหรือเพิ่มคำอธิบายของผู้แปลมากกว่ากลวิธีอื่น ๆ ผลการศึกษานี้จึงนับเป็นแนวทางอันเป็นประโยชน์โดยตรงต่อนักแปลในการแปลอุปลักษณ์เชิงรูปธรรมในวรรณกรรมประเภทสารคดีจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยหรือนำไปประยุกต์ใช้งานแปลประเภทอื่น ๆ และการเรียนการสอนเกี่ยวกับการแปล