Publication: พัฒนาการและความเปลี่ยนแปลงของความคิดว่าด้วยความ (ไม่) เป็นสมัยใหม่ในสังคมไทย
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2016
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
พัฒนาการและความเปลี่ยนแปลงของความคิดว่าด้วยความ (ไม่) เป็นสมัยใหม่ในสังคมไทย
Alternative Title(s)
On development and transformation of ideas on (un) modernity in Thai society
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การศึกษาในโครงการวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงความไม่ส าเร็จหรือส าเร็จเพียงบางด้านของความเป็นสมัยใหม่ใน
สยามไทย โดยมุ่งทำความเข้าใจในพัฒนาการที่ย้อนแย้ง (paradox) เช่นการที่คนชั้นกลางกลับใฝ่ฝันถึงอุดมคติในคุณค่าและวิถีชีวิตแบบจารีตของชนชั้นน าเก่ามากกว่าการรักษาและสร้างความเป็นอิสระและฐานะน าของชนชั้นตน วิธีวิทยาในการศึกษาเป็นแบบประวัติศาสตร์เปรียบเทียบและโครงสร้างทางสังคม โดยให้ความสำคัญไปที่การศึกษากระบวนการของความคิดทางสังคมนั้น ๆ ในบริบททางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของยุคสมัยมากกว่าหยุดนิ่งกับชนชั้นหนึ่งโดยเฉพาะ ข้อคิดและทฤษฎีที่ได้จากงานวิจัยในโครงการที่ได้ทำมาพอสรุปได้ดังนี้ ลักษณะเด่นของลัทธิสมัยใหม่ในสังคมไทย ประการแรก มิติของความเป็นสมัยใหม่หรือทันสมัยนั้นไม่ประสบความส าเร็จในทางกระบวนการและโครงสร้างทางสังคมอย่างที่ควรจะเป็น เห็นได้จากระบบการเมือง ระบบเศรษฐกิจและการศึกษา ที่ยังเป็นเป้าของการวิพากษ์วิจารณ์มาโดยตลอด ด้านที่มีฐานะนำและมีอำนาจกลับได้แก่มิติทางอุดมการณ์มากกว่าความจริงทางภววิสัยที่เราอาจชี้ให้เห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม ความเป็นสมัยใหม่ในสังคมไทยถูกใช้ในลักษณะของการเป็นอุดมการณ์สังคมมากกว่า กล่าวคือเป็นชุดความคิดของชนชั้นน า ที่ท าให้คนอื่นยอมรับการครอบง า ความเป็นสมัยใหม่ถูกใช้เป็น “มายาคติ” (myth) โดยชนชั้น
อีกประเด็นที่สำคัญในการค้นพบของโครงการนี้คือ กระบวนการเป็นสมัยใหม่ที่กระทำผ่านสถาบันทางสังคม
และเศรษฐกิจการเมืองต่างๆ นั้น ในที่สุดก็พบว่าในหลายปีที่ผ่านมา การทำให้เป็นสมัยใหม่เหล่านั้นไม่ได้นำไปสู่การสร้างความเท่าเทียมกันในสังคมเท่าที่ควร การจัดช่วงชั้นในสังคมไทยเต็มไปด้วยความไม่เท่าเทียมกัน มีความลักลั่นและไม่เป็นธรรมในหลาย ๆ สถาบัน ส่งผลให้อำนาจต่าง ๆ ในสังคมก็ถูกใช้อย่างไม่เสมอหน้าและไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน สถาบันที่เป็นดัชนีของผลพวงแห่งการทำให้เป็นสมัยใหม่อย่างไม่ได้ผลก็คือสถาบันการศึกษา ซึ่งกลายมาเป็นทั้งจำเลยและโจทก์ด้วยในเวลาเดียวกัน
ประเด็นสุดท้ายคือลัทธิสมัยใหม่ได้สืบทอดและสร้างความสมัยใหม่ขึ้นมาบนฐานของความไม่เป็นสมัยใหม่ด้วย
ในกรณีของสยามไทยคือการที่ลัทธิสมัยใหม่ในสยามสามารถและใช้ประโยชน์จากมรดกของความรู้แบบจารีตและธรรมเนียมแบบก่อนสมัยใหม่ของไทยอย่างมาก กระทั่งกลายเป็นวาทกรรมสมัยใหม่ที่ทรงพลังและมีอำนาจนำเหนือความรู้ที่เป็นสมัยใหม่ทั้งหลายด้วย นั้นคือสิ่งที่เรียกว่า “ความเป็นไทย” (Thainess) ดังนั้นแม้ชนชั้นนำไทยจะหลงใหลความเป็นตะวันตกมากเพียงใด ก็จะต้องอิงอาศัยความเป็นไทยเพื่อกำหนดทิศทางของสังคมอยู่เสมอ
The research project intends to study the development and transformation of social ideas originated during the quintessential period of modernization in the reign of King Chulalongkorn down to the present period, emphasizing on their initiation and practice and eventually evaluating their outcomes. Here social ideas mean practices with an ideological or social belief in the arena of social, political, and economic spheres. The project covers seven research papers including literature, architecture, beauty industry, Buddhism, political democratization, anthropology, and Patani knowledge. Despite the obvious different subject and discipline, all research outcomes deliver a similar pattern and development of these agencies of modernity in Thai society. The first is the definition and understanding of modernity among these practitioners which show their aspirations for progress and a better life. The problem is how to achieve these goals and ideals. Since the traditional elite and the state were the main modernizers, modernity gradually came under the purview of the state and implementations. Thai modernity thus became a myth and not a social reality owned by the people. The second is the limited class formation among the wider population, reinforced the power of traditional hierarchy and power structure. The third is the increasingly main influence of traditional culture in the development process of modernity in all social and political aspects. The most is the exploit of “Thainess” as the supreme goodness of the nation and its people.
The research project intends to study the development and transformation of social ideas originated during the quintessential period of modernization in the reign of King Chulalongkorn down to the present period, emphasizing on their initiation and practice and eventually evaluating their outcomes. Here social ideas mean practices with an ideological or social belief in the arena of social, political, and economic spheres. The project covers seven research papers including literature, architecture, beauty industry, Buddhism, political democratization, anthropology, and Patani knowledge. Despite the obvious different subject and discipline, all research outcomes deliver a similar pattern and development of these agencies of modernity in Thai society. The first is the definition and understanding of modernity among these practitioners which show their aspirations for progress and a better life. The problem is how to achieve these goals and ideals. Since the traditional elite and the state were the main modernizers, modernity gradually came under the purview of the state and implementations. Thai modernity thus became a myth and not a social reality owned by the people. The second is the limited class formation among the wider population, reinforced the power of traditional hierarchy and power structure. The third is the increasingly main influence of traditional culture in the development process of modernity in all social and political aspects. The most is the exploit of “Thainess” as the supreme goodness of the nation and its people.
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
Degree Level
Degree Department
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
Classification
DDC
MESH
Subject Terms(s)
Author-assigned keyword(s)
ไทยศึกษา
วรรณกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
อุตสาหกรรมความงาม
สตรีศึกษา
พุทธศาสนากับโลกาวิสัย
มานุษยวิทยากับชนบทศึกษา
ประชาธิปไตยทางการเมือง
ปาตานีศึกษา
ความเป็นสมัยใหม่
การทำให้เป็นสมัยใหม่
Thai Studies
Thai Literature
Thai Architecture
Beauty Industry In Thailand
Buddhism And Secularism
Anthropology And Rural Study
Political Democracy In Thailand
Patani Knowledge
Modernity
Modernization In Thailand
วรรณกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
อุตสาหกรรมความงาม
สตรีศึกษา
พุทธศาสนากับโลกาวิสัย
มานุษยวิทยากับชนบทศึกษา
ประชาธิปไตยทางการเมือง
ปาตานีศึกษา
ความเป็นสมัยใหม่
การทำให้เป็นสมัยใหม่
Thai Studies
Thai Literature
Thai Architecture
Beauty Industry In Thailand
Buddhism And Secularism
Anthropology And Rural Study
Political Democracy In Thailand
Patani Knowledge
Modernity
Modernization In Thailand