Publication: สัตว์กับสิทธิ: ทฤษฎีการเมืองว่าด้วยการปลดปล่อยสัตว์
dc.contributor.author | ปวงชน อุนจะนำ | |
dc.contributor.author | Puangchon Unchanam | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T06:39:15Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T06:39:15Z | |
dc.date.issued | 2020 | |
dc.date.issuedBE | 2563 | |
dc.description.abstract | ประวัติศาสตร์ของปรัชญาและทฤษฎีการเมืองคือประวัติศาสตร์ที่แฝงไปด้วยอคติ มันคืออคติของการเชิดชูความสามารถของมนุษย์จนเกินจริง ยกให้การเมืองเป็นเรื่องของมนุษย์เท่านั้น ไม่ให้ความสำคัญกับสัตว์ในฐานะประเด็นทางการเมือง และละเลยการกดขี่ขูดรีดที่มนุษย์กระทำต่อสัตว์ อย่างไรก็ดี ในโลกยุคปัจจุบัน การทารุณกรรมที่มนุษย์กระทำต่อสัตว์ สิทธิสัตว์ และการปลดปล่อยสัตว์ ได้กลายเป็นประเด็นที่กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นทั้งในขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมและในแวดวงวิชาการ บทความวิจัยชิ้นนี้ใช้วิธีการศึกษาค้นคว้าผ่านการอ่าน ตีความ วิเคราะห์ และวิพากษ์ทฤษฎีการเมืองร่วมสมัยว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์ สิทธิสัตว์ และการปลดปล่อยสัตว์ ทฤษฎีที่ว่านี้สามารถจัดแบ่งออกได้เป็นสามสำนักใหญ่ นั่นก็คือ เสรีนิยม สังคมนิยม และสตรีนิยม บทความชิ้นนี้ชี้ให้เห็นถึงจุดร่วมและจุดต่าง จุดแข็งและจุดอ่อน รวมไปถึงพัฒนาการและอุปสรรคของทฤษฎีจากทั้งสามสำนัก แม้จะมีความเห็นแตกต่างกันและยังไม่สามาถหาข้อสรุปร่วมกันได้ ทฤษฎีการเมืองทั้งสามสำนักต่างก็มีคุณูปการสำคัญ ไม่เพียงแต่ในแง่ของการเป็นทางเลือกให้กับทฤษฎีการเมืองกระแสหลัก หากแต่มันยังให้แรงบันดาลใจและส่งอิทธิพลต่อขบวนการเคลื่อนไหวมวลชนในปัจจุบันที่ต้องการปลดปล่อยสัตว์ให้มีเสรีภาพจากการกักขังและกดขี่ขูดรีดของมนุษย์ | |
dc.description.abstract | A critical prejudice is embedded in the history of political philosophy and theory. It is the prejudice that overexaggerates the capacities of humans, conceptualizes politics as the activities exclusively preserved for humans, considers animal issues as politically irrelevant, and neglects the human exploitation of animals. Today, however, cruelty to animals, animal rights, and animal liberation have become the crucial and popular topics among social movements and academic circles. This research article employs a method of reading, interpreting, analyzing, and criticizing some political theories that are related to the relations between humans and animals, animal rights, and animal liberation. Those theories can be divided into three major schools of thought: liberalism, socialism, and feminism. These three schools, as this article points out, have their own strength and weakness, share some similarities but hold substantial differences, and see both progresses and setbacks of their development. Although they cannot find a common solution, those theories make significant contributions. They not only provide some alternatives to the mainstream political theories. They also inspire and influence many social movements today that aim to liberate animals and set them free from the human control and exploitation. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/4856 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | สิทธิสัตว์ | |
dc.subject | ทฤษฎีการเมือง | |
dc.subject | การปลดปล่อยสัตว์ | |
dc.subject | สัตว์ | |
dc.subject | สิทธิ | |
dc.subject | เสรีภาพ | |
dc.subject | Animal | |
dc.subject | Right | |
dc.subject | Freedom | |
dc.subject | Political Theory | |
dc.subject | Animal Liberation | |
dc.subject.isced | 0223 ปรัชญาและจริยธรรม | |
dc.subject.oecd | 6.3 ปรัชญา จริยธรรมและศาสนา | |
dc.title | สัตว์กับสิทธิ: ทฤษฎีการเมืองว่าด้วยการปลดปล่อยสัตว์ | |
dc.title.alternative | Animals and Rights: Political Theories of Animal Liberation | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 786 | |
harrt.researchArea | ปรัชญาตะวันตก | |
harrt.researchGroup | ปรัชญา | |
harrt.researchTheme.1 | ปรัชญาสังคมการเมือง | |
harrt.researchTheme.2 | ปรัชญาสิ่งแวดล้อม | |
mods.location.url | https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jssnu/article/view/211868 | |
oaire.citation.endPage | 160 | |
oaire.citation.issue | 1 | |
oaire.citation.startPage | 119 | |
oaire.citation.title | วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร | |
oaire.citation.title | Journal of Social Sciences Naresuan University | en |
oaire.citation.volume | 16 |