Publication: Adorned Body, Female Language, and Emotional Marriage between Chinese Women in Snow Flower and the Secret Fan
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
MANUSYA: Journal of Humanities
Volume
21
Issue
2
Edition
Start Page
72
End Page
91
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Adorned Body, Female Language, and Emotional Marriage between Chinese Women in Snow Flower and the Secret Fan
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This research paper focuses on the study of Chinese women’s social status and tactics for survival in a patriarchal society in Snow Flower and the Secret Fan written by Lisa See. The author reveals the agony of the foot-binding tradition Chinese women had to undergo in the feudal period. Lisa See also demonstrates how female characters survived such circumstances by means of learning Nü Shu, a woman’s writing invented by women for women to express their grievances and inner feelings, and of creating an emotional companionship between women called ‘Laotong’, which is significant for survival under the male dominance. My discussion will be divided into five topics: 1) The linkage between ‘space’ and ‘female status’, which is presented in the form of the ‘public-private’ dichotomy. 2) ‘Nü Shu’, a woman language which is used to express inner feelings and as a tool for liberating themselves from the dominant culture. 3) The concept of the body as a site of discursive practice which exercises its power over female subjectivity. This concept is presented in the form of the foot-binding practice. 4) ‘Laotong’ relations or emotional companionship between Chinese women, which is viewed as a homoerotic relationship and as a tool for linking women together.
บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษาสถานภาพทางสังคมและ กลวิธีเพื่อการอยู่รอด ของสตรีจีน ในสังคมปิตาธิปไตยผ่านนวนิยายเรื่อง Snow Flower and the Secret Fan ซึ่งเป็นผลงานของนักเขียนสตรี อเมริกันเชื้อสายจีน Lisa See โดยผู้ประพันธ์ได้ เผยให้เห็นความเจ็บปวดที่สตรีจีนในยุคสังคมจารีต ได้รับจากประเพณีมัดเท้า นอกจากนี้ผู้ประพันธ์ยังแสดงให้เห็นถึงวิธีการเอาตัวรอดของตัวละครหญิงในเรื่องจากสถานการณ์ดังกล่าวผ่านการเรียนรู้ตัวอักษรหนี่ว์ซู ตัวอักษรที่เชื่อกันว่าผู้หญิงเป็นผู้คิดค้นขึ้นเพื่อถ่ายทอดบอกเล่าความทุกข์และ อารมณ์ความรู้สึกภายในรวมถึงการสร้างมิตรภาพ ทางอารมณ์ระหว่างผู้หญิงด้วยกันที่เรียกว่า ‘เหล่าถง’ อันมีความสำคัญต่อการอยู่รอดภายใต้อำนาจเพศชาย หัวข้อของบทความวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 4 หัวข้อย่อย ได้แก่ 1) ความเชื่อมโยงระหว่าง ‘พื้นที่’ กับ ‘สถานภาพสตรี’ ซึ่งนำเสนอในรูปแบบคู่ตรงข้ามระหว่าง ‘พื้นที่สาธารณะ’ กับ ‘พื้นที่ส่วนตัว’ 2) อักษรหนี่ว์ซู ซึ่งเป็นตัวอักษรของผู้หญิงใช้เพื่อถ่ายทอดบอกเล่าอารมณ์ความรู้สึกข้างในและยังเป็นเครื่องมือในการปลดปล่อยผู้หญิงออกจากสังคมกระแสหลัก 3) แนวคิดว่าด้วย ‘ร่างกายใน ฐานะพื้นที่ที่วาทกรรมเข้าไปจัดการอำนาจเกี่ยวกับความเป็นตัวตนของผู้หญิง’ แนวคิดดังกล่าวถูกนำเสนอในรูปของประเพณีมัดเท้า 4) ความสัมพันธ์แบบ ‘เหล่าถง’ ซึ่งเป็นมิตรภาพทางอารมณ์ระหว่างสตรีจีนโดยมองความสัมพันธ์ดังกล่าวในลักษณะรักร่วมเพศและเป็นเครื่องมือที่เชื่อมร้อยผู้หญิงเข้าด้วยกัน
บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษาสถานภาพทางสังคมและ กลวิธีเพื่อการอยู่รอด ของสตรีจีน ในสังคมปิตาธิปไตยผ่านนวนิยายเรื่อง Snow Flower and the Secret Fan ซึ่งเป็นผลงานของนักเขียนสตรี อเมริกันเชื้อสายจีน Lisa See โดยผู้ประพันธ์ได้ เผยให้เห็นความเจ็บปวดที่สตรีจีนในยุคสังคมจารีต ได้รับจากประเพณีมัดเท้า นอกจากนี้ผู้ประพันธ์ยังแสดงให้เห็นถึงวิธีการเอาตัวรอดของตัวละครหญิงในเรื่องจากสถานการณ์ดังกล่าวผ่านการเรียนรู้ตัวอักษรหนี่ว์ซู ตัวอักษรที่เชื่อกันว่าผู้หญิงเป็นผู้คิดค้นขึ้นเพื่อถ่ายทอดบอกเล่าความทุกข์และ อารมณ์ความรู้สึกภายในรวมถึงการสร้างมิตรภาพ ทางอารมณ์ระหว่างผู้หญิงด้วยกันที่เรียกว่า ‘เหล่าถง’ อันมีความสำคัญต่อการอยู่รอดภายใต้อำนาจเพศชาย หัวข้อของบทความวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 4 หัวข้อย่อย ได้แก่ 1) ความเชื่อมโยงระหว่าง ‘พื้นที่’ กับ ‘สถานภาพสตรี’ ซึ่งนำเสนอในรูปแบบคู่ตรงข้ามระหว่าง ‘พื้นที่สาธารณะ’ กับ ‘พื้นที่ส่วนตัว’ 2) อักษรหนี่ว์ซู ซึ่งเป็นตัวอักษรของผู้หญิงใช้เพื่อถ่ายทอดบอกเล่าอารมณ์ความรู้สึกข้างในและยังเป็นเครื่องมือในการปลดปล่อยผู้หญิงออกจากสังคมกระแสหลัก 3) แนวคิดว่าด้วย ‘ร่างกายใน ฐานะพื้นที่ที่วาทกรรมเข้าไปจัดการอำนาจเกี่ยวกับความเป็นตัวตนของผู้หญิง’ แนวคิดดังกล่าวถูกนำเสนอในรูปของประเพณีมัดเท้า 4) ความสัมพันธ์แบบ ‘เหล่าถง’ ซึ่งเป็นมิตรภาพทางอารมณ์ระหว่างสตรีจีนโดยมองความสัมพันธ์ดังกล่าวในลักษณะรักร่วมเพศและเป็นเครื่องมือที่เชื่อมร้อยผู้หญิงเข้าด้วยกัน