Publication: 从《月牙儿》与《风尘少女》看中泰妓女形象与母亲角色的异同比较
View online Resources
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2009
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
文學院學報
Liberal Arts Review
ศิลปศาสตร์ปริทัศน์
Liberal Arts Review
ศิลปศาสตร์ปริทัศน์
Volume
4
Issue
8
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
从《月牙儿》与《风尘少女》看中泰妓女形象与母亲角色的异同比较
Alternative Title(s)
เปรียบเทียบความเหมือนและต่างของบทบาทแม่ในภาพลักษณ์ของโสเภณี จากนวนิยายจีนเรื่อง "จันทร์เสี้ยว" กับนวนิยายไทยเรื่อง "หญิงคนชั่ว"
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
“妓女”是很久以来每个国家重要的社会问题,这一问题难以预防处理,也难以使其彻底消失。在我们这个世界上,关于娼妓的事情,不只是在人类现实的世界产生,并且在文学世界里也是这样,所以我们可以说,文学艺术体现出社会的种种问题,因此人类现实的种种状况,影响与创造出不少有价值的作品,给文学艺术方面带来更大进步。 中泰两国的文学作品中,都有描写妓女的现象,《月牙儿》是中国作家老舍的作品,同时《风尘少女》是泰国作家高•素朗卡娘的作品。老舍与高•素朗卡娘都是在中泰文学史上极其著名的作家,在国内文学史上,具有独特的思想和艺术风格,对世界文学的发展产生了重要影响,推动了文学艺术更加进步。 由于老舍的《月牙儿》与高•素朗卡娘的《风尘少女》其主人公都是妓女,所以通过他们俩以妓女为主题的作品的比较分析,发现两位作家的小说创作,在题材方面大致相似,如:作为妓女的原因,都不是自愿,而是被逼迫,同时两位作家对于母亲这一角色的塑造也存在着相似之处,这能够体现出那个年代两国的社会状况,妓女生活,及人们对于娼妓这一底层职业的看法。
“โสเภณี” เป็นปัญหาทางสังคมที่สำคัญของทุกประเทศมาช้านานแล้ว ปัญหานี้ยากที่จะจัดการแก้ไขป้องกันล่วงหน้า และยากที่จะกำจัดให้หมดสิ้นอย่างจริงจังลงไปได้ ในสภาวการณ์ของโลกมนุษย์เรานั้น เรื่องราวเกี่ยวกับโสเภณี ไม่เพียงแต่จะเกิดขึ้นเฉพาะ ในโลกของความเป็นจริงของมนุษย์เราเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นกับโลกทางวรรณกรรมอีกด้วย ดังนั้นเราอาจพูดได้ว่า ศิลปะทางวรรณคดีสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาต่าง ๆ ทางสังคม ฉะนั้นปรากฏการณ์ของสภาพความเป็นจริงของมนุษย์นี้เอง ได้ส่งผลและสร้างสรรค์ผลงานด้านการประพันธ์ที่มีค่าออกมาเป็นจำนวนมาก ที่จะทำให้ศิลปะวรรณคดีแขนงนี้เกิดความก้าวหน้ายิ่งขึ้นสืบไป ผลงานทางวรรณกรรมของประเทศจีนและประเทศไทยทั้งสองประเทศนี้ ต่างก็มีการพรรณนาถึงปรากฏการณ์ของโสเภณีด้วยกันทั้งสิ้น เป็นต้นว่า ผลงานเรื่องจันทร์เสี้ยวของเหลาเส่อซึ่งเป็นนักประพันธ์ชาวจีน และผลงานเรื่องหญิงคนชั่วของ ก.สุรางคนางค์ ซึ่งเป็นนักประพันธ์ชาวไทย เหลาเส่อและก.สุรางคนางค์ ต่างก็เป็นนักประพันธ์ชาวจีนและชาวไทยที่มีชื่อเสียงตามประวัติศาสตร์ทางวรรณคดีเป็นอย่างยิ่ง ทางด้านประวัติศาสตร์ทางวรรณกรรมภายในประเทศนั้น เขาทั้งสองต่างก็มีความคิดที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่ส่งผลสำคัญต่อการพัฒนาวรรณกรรมของโลก อีกทั้งยังผลักดันศิลปะทางวรรณคดีให้มีความเจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น เนื่องจากผลงานเรื่องจันทร์เสี้ยวของเหลาเส่อและเรื่องหญิงคนชั่วของ ก.สุรางคนางค์นั้น ตัวเอกในผลงานนวนิยายทั้งสองเรื่องต่างก็เป็นโสเภณี ดังนั้นการวิเคราะห์เปรียบเทียบถึงผลงานการประพันธ์ดังกล่าว ที่ใช้โสเภณีเป็นแก่นของเรื่องของนักประพันธ์ทั้งสองท่านนี้ พบว่าผลงานการประพันธ์ในด้านเนื้อหานั้น ส่วนใหญ่มีความคล้ายคลึงกันมาก เป็นต้นว่า สาเหตุของการเป็นโสเภณีนั้นล้วนแล้วแต่มิใช่เป็นการสมัครใจยินยอม หากแต่เป็นผลอันสืบเนื่องมาจากสภาวการณ์ที่ถูกบังคับ ในขณะเดียวกันนักประพันธ์ทั้งสองท่านนี้ยังรังสรรค์บทบาทของผู้เป็นแม่ไว้อย่างแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงสภาพแวดล้อมทางสังคมในยุคสมัยนั้น ๆ รวมถึงชีวิตและความเป็นอยู่ของโสเภณี ตลอดจนทัศนคติของบุคคลที่มีต่ออาชีพโสเภณีชั้นต่ำ
“โสเภณี” เป็นปัญหาทางสังคมที่สำคัญของทุกประเทศมาช้านานแล้ว ปัญหานี้ยากที่จะจัดการแก้ไขป้องกันล่วงหน้า และยากที่จะกำจัดให้หมดสิ้นอย่างจริงจังลงไปได้ ในสภาวการณ์ของโลกมนุษย์เรานั้น เรื่องราวเกี่ยวกับโสเภณี ไม่เพียงแต่จะเกิดขึ้นเฉพาะ ในโลกของความเป็นจริงของมนุษย์เราเท่านั้น แต่ยังเกิดขึ้นกับโลกทางวรรณกรรมอีกด้วย ดังนั้นเราอาจพูดได้ว่า ศิลปะทางวรรณคดีสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาต่าง ๆ ทางสังคม ฉะนั้นปรากฏการณ์ของสภาพความเป็นจริงของมนุษย์นี้เอง ได้ส่งผลและสร้างสรรค์ผลงานด้านการประพันธ์ที่มีค่าออกมาเป็นจำนวนมาก ที่จะทำให้ศิลปะวรรณคดีแขนงนี้เกิดความก้าวหน้ายิ่งขึ้นสืบไป ผลงานทางวรรณกรรมของประเทศจีนและประเทศไทยทั้งสองประเทศนี้ ต่างก็มีการพรรณนาถึงปรากฏการณ์ของโสเภณีด้วยกันทั้งสิ้น เป็นต้นว่า ผลงานเรื่องจันทร์เสี้ยวของเหลาเส่อซึ่งเป็นนักประพันธ์ชาวจีน และผลงานเรื่องหญิงคนชั่วของ ก.สุรางคนางค์ ซึ่งเป็นนักประพันธ์ชาวไทย เหลาเส่อและก.สุรางคนางค์ ต่างก็เป็นนักประพันธ์ชาวจีนและชาวไทยที่มีชื่อเสียงตามประวัติศาสตร์ทางวรรณคดีเป็นอย่างยิ่ง ทางด้านประวัติศาสตร์ทางวรรณกรรมภายในประเทศนั้น เขาทั้งสองต่างก็มีความคิดที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่ส่งผลสำคัญต่อการพัฒนาวรรณกรรมของโลก อีกทั้งยังผลักดันศิลปะทางวรรณคดีให้มีความเจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น เนื่องจากผลงานเรื่องจันทร์เสี้ยวของเหลาเส่อและเรื่องหญิงคนชั่วของ ก.สุรางคนางค์นั้น ตัวเอกในผลงานนวนิยายทั้งสองเรื่องต่างก็เป็นโสเภณี ดังนั้นการวิเคราะห์เปรียบเทียบถึงผลงานการประพันธ์ดังกล่าว ที่ใช้โสเภณีเป็นแก่นของเรื่องของนักประพันธ์ทั้งสองท่านนี้ พบว่าผลงานการประพันธ์ในด้านเนื้อหานั้น ส่วนใหญ่มีความคล้ายคลึงกันมาก เป็นต้นว่า สาเหตุของการเป็นโสเภณีนั้นล้วนแล้วแต่มิใช่เป็นการสมัครใจยินยอม หากแต่เป็นผลอันสืบเนื่องมาจากสภาวการณ์ที่ถูกบังคับ ในขณะเดียวกันนักประพันธ์ทั้งสองท่านนี้ยังรังสรรค์บทบาทของผู้เป็นแม่ไว้อย่างแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงสภาพแวดล้อมทางสังคมในยุคสมัยนั้น ๆ รวมถึงชีวิตและความเป็นอยู่ของโสเภณี ตลอดจนทัศนคติของบุคคลที่มีต่ออาชีพโสเภณีชั้นต่ำ