Publication: “Remember Me, in Your Stories and in Your Songs” The Magical Journey to Celtic Cultural Resurrection and the Re-Discovery of Self in Song of the Sea
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2019
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
0859-9920 (Print), 2673-0103 (Online)
eISSN
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Manusya, Journal of Humanities
Volume
22
Issue
Edition
Start Page
90
End Page
107
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
“Remember Me, in Your Stories and in Your Songs” The Magical Journey to Celtic Cultural Resurrection and the Re-Discovery of Self in Song of the Sea
Alternative Title(s)
“อย่าลืมฉันในเรื่องเล่าและบทเพลงของเธอ” มหัศจรรย์แห่งการเดิน ทางสู่การฟื้นฟูวัฒนธรรมไอริช และการค้นพบตัวตนใหม่ในภาพยนตร์ การ์ตูนเรื่อง The Song of the Sea
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This study examines the deployment of magical realism along with cinematic techniques in Song of the Sea. Analysing the animated film as a cultural text in light of magical realism, it argues that the film intermingles two different worlds, the mundane and the fantastic, to provide audiences with a more inclusive view of reality. The existence of Celtic mythical beings, selkies, brought to life by magical realism, becomes the cornerstone in the protagonists’ healing process as their interactions with these mythical beings gradually reshape their conception of reality. A new “reality” is, thus, employed to vex the protagonists’ mind and make them reconsider reality in a new light by helping them vividly see Irish cultural aspects in their mundane life. Taking two selkies, Bronagh and Saoirse, as a metaphor for Irish cultural roots, this paper asserts that the protagonists’ embarking on their magical journey to retrieve the selkie’s coat not only heals their shattered selves but also induces them to hark back to their cultural roots. Ultimately, the research posits that the protagonist’s newly developed self, which eventually allows him and his family to come to terms with their loss, resolves his conflict with Saoirse, who successfully prevents the Irish cultural roots from being forgotten.
บทความนี้สำรวจแนวคิดสัจนิยมมหัศจรรย์ (magical realism) ผ่านเทคนิคการนำเสนอภาพยนตร์ (cinematic techniques) ในภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง The Song of the Sea ในฐานะตัวบททางวัฒนธรรม โดยชี้ให้เห็นว่าตัวบทดังกล่าวอาศัยการเล่าเรื่องแบบสัจนิยมมหัศจรรย์เพื่อหลอมรวมโลกแห่งความจริงและโลกแห่งความอัศจรรย์ (fantasy) ไว้ด้วยกันอย่างแนบเนียน เพื่อนำเสนอการมองโลกแห่งความจริงแบบใหม่ที่มีความลุ่มลึกมากยิ่งขึ้น ผู้เขียนนำเสนอว่าตัวตนและการดำ รงอยู่ของเซลคีย์เป็นต้นธารในกระบวนการเยียวยารักษาของตัวละครหลักผ่านปฏิสัมพันธ์ของเขากับเซลคีย์และสิ่งมีชีวิตในตำ นานอื่นๆ ยิ่งไปกว่านั้น บทความยังชี้ให้เห็นว่ากระบวนการเยียวยารักษาได้ค่อยๆ เปลี่ยนกระบวนทัศน์การรับรู้ความจริงของ ตัวละครโดยการมองรากทางวัฒนธรรมของตัวเองในโลกแห่งความเป็นจริงแบบใหม่ซึ่งเกิดขึ้นจากการออกผจญภัยของตัวละครหลักในการช่วยเหลือเซลคีย์การออกเดินทางดังกล่าวไม่เพียงแต่ช่วยเยียวยาบาดแผลในจิตใจของตัวละครแต่ยังทำให้ตัวละครยอมรับในรากทางวัฒนธรรม รวมถึงความสูญเสียในครอบครัว ท้ายที่สุด การคลายปมปัญหาของตัวละครหลักที่มีต่อเซียชาร์ (Saoirse) ผู้ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัฒนธรรมไอริชที่ยังมีชีวิตอยู่ยังทำหน้าที่สะท้อนการป้องกันรากทางวัฒนธรรมไม่ให้ถูกลืมเลือนอีกด้วย
บทความนี้สำรวจแนวคิดสัจนิยมมหัศจรรย์ (magical realism) ผ่านเทคนิคการนำเสนอภาพยนตร์ (cinematic techniques) ในภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง The Song of the Sea ในฐานะตัวบททางวัฒนธรรม โดยชี้ให้เห็นว่าตัวบทดังกล่าวอาศัยการเล่าเรื่องแบบสัจนิยมมหัศจรรย์เพื่อหลอมรวมโลกแห่งความจริงและโลกแห่งความอัศจรรย์ (fantasy) ไว้ด้วยกันอย่างแนบเนียน เพื่อนำเสนอการมองโลกแห่งความจริงแบบใหม่ที่มีความลุ่มลึกมากยิ่งขึ้น ผู้เขียนนำเสนอว่าตัวตนและการดำ รงอยู่ของเซลคีย์เป็นต้นธารในกระบวนการเยียวยารักษาของตัวละครหลักผ่านปฏิสัมพันธ์ของเขากับเซลคีย์และสิ่งมีชีวิตในตำ นานอื่นๆ ยิ่งไปกว่านั้น บทความยังชี้ให้เห็นว่ากระบวนการเยียวยารักษาได้ค่อยๆ เปลี่ยนกระบวนทัศน์การรับรู้ความจริงของ ตัวละครโดยการมองรากทางวัฒนธรรมของตัวเองในโลกแห่งความเป็นจริงแบบใหม่ซึ่งเกิดขึ้นจากการออกผจญภัยของตัวละครหลักในการช่วยเหลือเซลคีย์การออกเดินทางดังกล่าวไม่เพียงแต่ช่วยเยียวยาบาดแผลในจิตใจของตัวละครแต่ยังทำให้ตัวละครยอมรับในรากทางวัฒนธรรม รวมถึงความสูญเสียในครอบครัว ท้ายที่สุด การคลายปมปัญหาของตัวละครหลักที่มีต่อเซียชาร์ (Saoirse) ผู้ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัฒนธรรมไอริชที่ยังมีชีวิตอยู่ยังทำหน้าที่สะท้อนการป้องกันรากทางวัฒนธรรมไม่ให้ถูกลืมเลือนอีกด้วย