Publication: 动介虚化现象对泰国学生介词习得的影响及教学建议
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Humanities and social Sciences, Rangsit University
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
Volume
13
Issue
2
Edition
Start Page
161
End Page
176
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
动介虚化现象对泰国学生介词习得的影响及教学建议
Alternative Title(s)
A Study of Effects of Mandarin Words Used as Verbs and Prepositions on Thai Learners and Instruction
การศีกษาผลกระทบของคําที่ทําหน้าที่ทั้งคํากริยาและคําบุพบทในภาษาจีนกลางที่มีต่อผู้เรียนชาวไทยและแนวทางการเรียนการสอน
การศีกษาผลกระทบของคําที่ทําหน้าที่ทั้งคํากริยาและคําบุพบทในภาษาจีนกลางที่มีต่อผู้เรียนชาวไทยและแนวทางการเรียนการสอน
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
动介兼类词是泰国学生的学词习点之一。为了提高教学效果,本文以动介兼类词的来源为研究起点,对由动词虚化而来的介词词行研究。发现发些词的虚化程度不同,对学生对其的了解有一定的影响,即虚化程度较高的词对泰国学生来说比虚化程度不高的更容易词得。此外,还还出了泰国兰兰大学使用的基础础础础的教材为研究对象,在认知础言学的角度上词行了教材中的每个介词的分析。得出的结果是,根据础泰两种础言的对比,可以将介词分为“基本上能够与泰础介词对词的介词”、“泰础里没有可对词的介词”、以及“动介兼类词,即具有动词和介词的意义和功能的词”三种。最后,从认知础言学的角度提出针对泰国学生动介兼类词的教学建议。
动介兼类词 are words that can be either verbs or prepositions. It is problematic for Thai learners who study Mandarin. The researcher aimed to enhance the effectiveness of Mandarin teaching. Therefore, the researcher investigated the origins of 动介兼类词 to analyze prepositions deriving from verbs and found that there were differences in the derivation levels of each word. Such differences could affect Thai learners’ understanding. Among them, words with a high level of derivation could be more comprehensible than those with medium or low levels. The researcher, then, studied the words gathered from the textbooks used in four courses, Foundation Mandarin I, II, III, and IV, of the Chinese Language Department, Faculty of Liberal Arts, Rangsit University, on the basis of cognitive linguistics. The result revealed that, in comparison with prepositions in the Thai language, those in Mandarin could be in the following three features: 1) those comparable to Thai prepositions, 2) those incomparable to Thai prepositions, and 3) those able to be either prepositions or verbs. The results gained could be specifically applied to teaching of 动介兼类词 for Thai learners.
动介兼类词 คือ คําที่มีหน้าที่เป็นทั้งกริยาและบุพบท เป็นเรื่องยากเรื่องหนึ่งสําหรับชาวไทยผู้เรียน ภาษาจีน ผู้วิจัยต้องการพัฒนาวิธีการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จึงเริ่มศึกษาจากที่มาของ 动介 兼类词 เพื่อวิเคราะห์คําบุพบทที่กลายมาจากคํากริยา จากการศึกษาพบว่า ระดับการกลายของแต่ละคํา มีความแตกต่างกัน และมีผลต่อการทําความเข้าใจของผู้เรียน กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถทําความเข้าใจคําที่มี ระดับการกลายค่อนข้างสูงได้ดีกว่าคําที่มีระดับการกลายปานกลางถึงต่ํา ต่อมา ผู้วิจัยได้ศึกษาคําบุพบททั้งหมด ที่ปรากฏในแบบเรียนรายวิชาภาษาจีนพื้นฐาน 1 ถึง 4 ภาควิชาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยนําแนวคิดภาษาศาสตร์ปริชานมาใช้ศึกษา ผลปรากฏว่า เมื่อเทียบกับภาษาไทยแล้ว คําบุพบทในภาษาจีน อธิบายได้ใน 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) คําบุพบทที่สามารถเทียบเคียงกับคําบุพบทในภาษาไทยได้ 2) คําบุพบทที่ ไม่สามารถเทียบเคียงกับคําบุพบทในภาษาไทยได้ และ 3) คําที่มีหน้าที่เป็นได้ทั้งคํากริยาและคําบุพบท จึงนํา ผลการศึกษาทั้งหมดมาปรับใช้เป็นแนวทางการสอนเรื่อง 动介兼类词 สําหรับผู้เรียนชาวไทยโดยเฉพาะ
动介兼类词 are words that can be either verbs or prepositions. It is problematic for Thai learners who study Mandarin. The researcher aimed to enhance the effectiveness of Mandarin teaching. Therefore, the researcher investigated the origins of 动介兼类词 to analyze prepositions deriving from verbs and found that there were differences in the derivation levels of each word. Such differences could affect Thai learners’ understanding. Among them, words with a high level of derivation could be more comprehensible than those with medium or low levels. The researcher, then, studied the words gathered from the textbooks used in four courses, Foundation Mandarin I, II, III, and IV, of the Chinese Language Department, Faculty of Liberal Arts, Rangsit University, on the basis of cognitive linguistics. The result revealed that, in comparison with prepositions in the Thai language, those in Mandarin could be in the following three features: 1) those comparable to Thai prepositions, 2) those incomparable to Thai prepositions, and 3) those able to be either prepositions or verbs. The results gained could be specifically applied to teaching of 动介兼类词 for Thai learners.
动介兼类词 คือ คําที่มีหน้าที่เป็นทั้งกริยาและบุพบท เป็นเรื่องยากเรื่องหนึ่งสําหรับชาวไทยผู้เรียน ภาษาจีน ผู้วิจัยต้องการพัฒนาวิธีการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จึงเริ่มศึกษาจากที่มาของ 动介 兼类词 เพื่อวิเคราะห์คําบุพบทที่กลายมาจากคํากริยา จากการศึกษาพบว่า ระดับการกลายของแต่ละคํา มีความแตกต่างกัน และมีผลต่อการทําความเข้าใจของผู้เรียน กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถทําความเข้าใจคําที่มี ระดับการกลายค่อนข้างสูงได้ดีกว่าคําที่มีระดับการกลายปานกลางถึงต่ํา ต่อมา ผู้วิจัยได้ศึกษาคําบุพบททั้งหมด ที่ปรากฏในแบบเรียนรายวิชาภาษาจีนพื้นฐาน 1 ถึง 4 ภาควิชาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยนําแนวคิดภาษาศาสตร์ปริชานมาใช้ศึกษา ผลปรากฏว่า เมื่อเทียบกับภาษาไทยแล้ว คําบุพบทในภาษาจีน อธิบายได้ใน 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) คําบุพบทที่สามารถเทียบเคียงกับคําบุพบทในภาษาไทยได้ 2) คําบุพบทที่ ไม่สามารถเทียบเคียงกับคําบุพบทในภาษาไทยได้ และ 3) คําที่มีหน้าที่เป็นได้ทั้งคํากริยาและคําบุพบท จึงนํา ผลการศึกษาทั้งหมดมาปรับใช้เป็นแนวทางการสอนเรื่อง 动介兼类词 สําหรับผู้เรียนชาวไทยโดยเฉพาะ