Publication: What Makes “The Phantom” a Phantom?: Characterizations of The Phantom in The Phantom of the Opera through Literary and Criminological Perspectives
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2022
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1906-7208 (P-ISSN), 2651-1126 (E-ISSN)
eISSN
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Volume
14
Issue
2
Edition
Start Page
46
End Page
79
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
What Makes “The Phantom” a Phantom?: Characterizations of The Phantom in The Phantom of the Opera through Literary and Criminological Perspectives
Alternative Title(s)
สิ่งใดสร้าง “แฟนท่อม” ให้เป็นปีศาจ:การสร้างตัวละครแฟนท่อม ในเรื่อง ปีศาจแห่งโรงอุปรากร ผ่านมุมมองทางวรรณกรรมและอาชญาวิทยา
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This research aims to study the characterizations of The Phantom in The Phantom of the Opera written by Gaston Leroux through literary and criminological perspectives. The elements are explored in terms of types, naming, traits, and presentation techniques, while factors in the etiology of the character’s criminal behavior are analyzed by applying integrated criminological theories. The study discusses the characterization of The Phantom in the narrative and factors that influence the creation of this character as a phantom, a frightening criminal. The findings are presented in tables and descriptive explanations. The results show that The Phantom is a round and dynamic character taking the role of a villain and a protagonist. Each aspect of characterization, including naming, and external and internal traits of the character presented through narrations, dialogues, and actions, altogether play a part in characterizing The Phantom. In addition, the character had criminal behaviors such as intimidation, abduction, and murder, motivated by an inferiority complex of not being accepted by society, being labeled, and lack of social bonds.
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ เพื่อศึกษาการสร้างตัวละครแฟนท่อมในเรื่อง ปีศาจแห่งโรงอุปรากร ประพันธ์โดย Gaston Leroux ผ่านมุมมองทางวรรณกรรมและอาชญาวิทยา องค์ประกอบที่ศึกษา ได้แก่ ประเภทการตั้งชื่อ ลักษณะ และ วิธีการนำเสนอ ส่วนปัจจัยการเกิดพฤติกรรมอาชญากรรมนั้นวิเคราะห์ด้วยทฤษฎีอาชญาวิทยาแบบผสมผสาน งานวิจัยนี้อภิปรายถึงการสร้างตัวละครแฟนท่อม ในบทประพันธ์ และปัจจัยที่มีอิทธิพลในการสร้างตัวละครให้กลายเป็นปีศาจอาชญากรที่น่าหวาดกลัว ผลการวิจัยนำเสนอในรูปแบบตารางและการบรรยายพบว่า ตัวละครแฟนท่อมเป็นตัวละครประเภทลักษณะนิสัยซับซ้อนและมีพัฒนาการ แสดงบทบาทของตัวร้ายและตัวเอก การสร้างตัวละครทุกด้าน ทั้งการตั้งชื่อ ลักษณะภายนอก ลักษณะภายใน การนำเสนอตัวละครผ่านการบรรยาย บทพูด และ การกระทำ ล้วนมีส่วนสร้างตัวละครแฟนท่อม นอกจากนี้ยังพบว่า ตัวละครมีพฤติกรรมอาชญากรรม เช่น การข่มขู่ กักขัง และฆาตกรรม ซึ่งถูกผลักดันจากปมด้อยที่ไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมถูกตีตราและขาดความผูกพันทางสังคม
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ เพื่อศึกษาการสร้างตัวละครแฟนท่อมในเรื่อง ปีศาจแห่งโรงอุปรากร ประพันธ์โดย Gaston Leroux ผ่านมุมมองทางวรรณกรรมและอาชญาวิทยา องค์ประกอบที่ศึกษา ได้แก่ ประเภทการตั้งชื่อ ลักษณะ และ วิธีการนำเสนอ ส่วนปัจจัยการเกิดพฤติกรรมอาชญากรรมนั้นวิเคราะห์ด้วยทฤษฎีอาชญาวิทยาแบบผสมผสาน งานวิจัยนี้อภิปรายถึงการสร้างตัวละครแฟนท่อม ในบทประพันธ์ และปัจจัยที่มีอิทธิพลในการสร้างตัวละครให้กลายเป็นปีศาจอาชญากรที่น่าหวาดกลัว ผลการวิจัยนำเสนอในรูปแบบตารางและการบรรยายพบว่า ตัวละครแฟนท่อมเป็นตัวละครประเภทลักษณะนิสัยซับซ้อนและมีพัฒนาการ แสดงบทบาทของตัวร้ายและตัวเอก การสร้างตัวละครทุกด้าน ทั้งการตั้งชื่อ ลักษณะภายนอก ลักษณะภายใน การนำเสนอตัวละครผ่านการบรรยาย บทพูด และ การกระทำ ล้วนมีส่วนสร้างตัวละครแฟนท่อม นอกจากนี้ยังพบว่า ตัวละครมีพฤติกรรมอาชญากรรม เช่น การข่มขู่ กักขัง และฆาตกรรม ซึ่งถูกผลักดันจากปมด้อยที่ไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมถูกตีตราและขาดความผูกพันทางสังคม