Publication: การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดทางพุทธจริยศาสตร์ในวรรณกรรมอีสานเรื่องตั๊กแตนคำ
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2017
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดทางพุทธจริยศาสตร์ในวรรณกรรมอีสานเรื่องตั๊กแตนคำ
Alternative Title(s)
An analytical study of Buddhist ethics concept in I-San literature on Takkataenkham story
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยเรื่องแนวคิดทางพุทธจริยศาสตร์ในวรรณกรรมอีสานเรื่องตั๊กแตนคำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาแนวคิดทางพุทธจริยศษสตร์ 2. ศึกษาความเป็นมาของวรรณกรรมอีสานเรื่องตั๊กแตนคำ และ 3. ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดทางพุทธจริยศษสตร์ในวรรณกรรมอีสานเรื่องตั๊กแตนคำเป็นการวิจัยเอกสาร การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวิจัยถึงแนวคิดทางพุทธจริยศาสตร์ในวรรณกรรมอีสานเรื่องตั๊กแตนคำแล้วนำเสนอการวิจัยด้วยการวิเคราะห์เชิงพรรณนาด้วยอุปนัยวิธี ผลการวิจัยพบว่า ด้านแนวคิดทางพุทธจริยศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า หลักพุทธจริยศาสตร์เป็นหลักความประพฤติของมนุษย์เพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยความสงบสุขและเอื้อประโยชน์สูงสุดให้กับผู้ประพฤติชชอบตามกรอบของจริยศาสตร์ และพุทธจริยศาสตร์ยังเป็นบ่อเกิดของความดีงามต่างๆ ทั้งแก่ตนและสังคมโดยสรุปพุทธจริยศาสตร์ได้แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับต้นมีเบญจศีลเบญจธรรมเป็นกรอบพื้นฐาน พุทธจริยศาสตร์ระดับกลางเป็นการพัฒนากายและจิตของมนุษย์ให้มีคุณธรรมและจริยธรรมเป็นความประพฤติส่วนบุคคลมีกุศลกรรมบท 10 และพุทธจริยศาสตร์ในระดับสูงเป็นเครื่องมือพัฒนามนุษย์ธรรมดาสู่ความเป็นอภิมนุษย์โดยมีเป้าเพื่อการเข้าถึงจุดหมายสูงสุดคือนิพพานโดยมีวรรค 8 เป็นกรอบในการพัฒนา ด้านประวัติความเป็นมาของวรรณกรรมอีสานเรื่องตั๊กแตนคำ ผลการวิจัยพบว่า วรรณกรรมเรื่องลำตั๊กแตนคำ เป็นคัมภัร์ใบลานจารด้วยอักษรธรรมอีสาน เมื่อ พ.ศ. 2462 มีจำนวน 5 ผูก 95 ลาน 186 หล้าลาน ส่วนโครงเรื่องได้กล่าวถึงปัญหาหรือขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ต่างๆ ทั้งปมปัญหาข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากสิ่งแวดล้อม หรือแม้กระทั่งปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากสิ่งแวดล้อม หรือแม้กระทั่งปัญหาหรือความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่าตัวเอกของเรื่องกับตัวละครอื่นๆ ด้านการวิเคราะห์แนวคิดทางพุทธจริยศาสตร์ในวรรณกรรมอีสานเรื่องตั๊กแตนคำ ผลการวิจัย ในวรรณกรรมเรื่องลำตั๊กแตนคำได้กล่าวถึงปัญหาหรือข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ต่างๆ ที่เป็นปัญหาในการขัดแย้งของการอยู๋ร่วมกันในสังคมโดยมีกระระงับข้อขัดแย้งยังต่างๆได้ด้วยการใช้หลักพุทธจริยศษสตร์ที่ประกอบด้วยศีล 5 กุศลกรรมบถ 10 และมรรค 8 เป็นเครื่องมือเพื่อพัฒนาและขัดเกลาลักษณะนิสัยของคนในสังคมให้ละเอียดอ่อนโดยอยู่ในสังคมร่วมกันได้อย่างดีมีความสงบสุขจนบรรลุเป้าหมายสูงสุดคือนิพพาน
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
บัณฑิตวิทยาลัย
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย