Publication: การปรากฏร่วมกันของคำในภาษาญี่ปุ่น: กรณีศึกษาคำนามจากคลังข้อมูลภาษา
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2019
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา
JSN Journal
JSN Journal
Volume
9
Issue
1
Edition
Start Page
49
End Page
68
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การปรากฏร่วมกันของคำในภาษาญี่ปุ่น: กรณีศึกษาคำนามจากคลังข้อมูลภาษา
Alternative Title(s)
Word cooccurrence in Japanese: The Case Study of Nouns
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคำนามที่มีความถี่ในการใช้สูงจากการตรวจสอบในคลังข้อมูลภาษา และศึกษาคำปรากฏร่วมของคำนาม แหล่งข้อมูลคำนามมาจากหนังสือเรียนภาษาญี่ปุ่นชั้นกลางจำนวน 3 เล่ม จำนวนคำนามจากหนังสือเรียนภาษาญี่ปุ่นชั้นกลางทั้งหมดเท่ากับ 985 คำ วิธีดำเนินการวิจัยเริ่มจากคัดเลือกคำนามที่มีความถี่สูงและวิเคราะห์ค่าความถี่ปรุงแต่งตามสูตรของ石川 (2014) โดยค้นความถี่จากคลังข้อมูลภาษา 2 แหล่ง คือ คลังข้อมูลภาษา NINJAL-LWP for TWC และ BCCWJ หลังจากนั้นนำคำนาม 100 คำแรกที่มีความถี่สูงหาคำปรากฏร่วมรูปแบบคำนาม + คำกริยา((名詞+)助詞+動詞)ผลการวิจัยได้กลุ่มคำปรากฏร่วมทั้งคำปรากฏร่วมทั่วไปและคำปรากฏร่วมที่มีความถี่ในการใช้สูงจากคลังข้อมูลภาษา คำปรากฏร่วมหลายคำมีคำหลายความหมายทั้งประเภทคำนามหลายความหมาย และคำกริยาหลายความหมายเป็นส่วนประกอบ เช่น 注意を払う、不安を覚えるอีกทั้งยังพบแนวโน้มลักษณะการใช้ระหว่างคำนามที่มีความหมายคล้ายกันได้แก่ 状態・状況 โดยปรากฏในรูปคำปรากฏร่วม 状態に陥る และ 状況を把握する มากที่สุด ผลการวิจัยที่รวบรวมได้สามารถนำไปพัฒนาต่อยอดเป็นคลังคำปรากฏร่วมเพื่อใช้ในการเรียนการสอนการใช้คำศัพท์ภาษาญี่ปุ่น และต่อยอดเป็นงานวิจัยในประเด็นการใช้ที่แตกต่างกันระหว่างคำที่มีความหมายคล้ายโดยศึกษาจากลักษณะการปรากฏร่วม