Publication: Schindler’s List: A Postmodern Revisit
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
0859-3485
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Manutsayasat Wichakan
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ
Volume
27
Issue
1
Edition
Start Page
354
End Page
370
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Schindler’s List: A Postmodern Revisit
Alternative Title(s)
ชินด์เลอร์ส ลิสต์: โพสโมเดิร์นพิจักษ์
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This article offers to reread Thomas Keneally’s 1982 novel Schindler’s List through the lens of postmodernism. Even though the novel is not considered a postmodern writing, it displays a subject matter, tone and ethos that are the composite spirit of the postmodern movements. Three traits of postmodernism are traced and discussed within the context and the suggestion of the novel: the hybridity of fact and fiction, the application of irony, and the revision of a unified history. In acknowledging these sensitivities, one finds that the critical term that can be perplexing in its indefinite conceits is very well capable of expounding something as genuine as humanity.
บทความนี้นำเสนอมุมมองแนวหลังนวนิยมจากการศึกษานวนิยายเรื่อง ชินด์เลัอร์ส ลิสต์ ประพันธ์โดย โธมัส เคนนีลลีย์ ซึ่งได้ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1982 แม้ว่านวนิยายเรื่องนี้จะไม่ถูกจัดให้เป็นงานเขียนแนวหลังนวนิยมก็ตาม หากแต่ก็มี เนื้อหา น้ำเสียง และจิตวิญญาณของกระบวนการเคลื่อนไหวแนวหลังนวนิยมอยู่ไม่น้อย การศึกษาครั้งนี้ ได้นำเสนอและอภิปรายลักษณะของงานเขียนแนวหลังนวนิยม สามลักษณะที่พบในนวนิยายเรื่องนี้ ได้แก่ ความผสมกลมกลืนของเรื่องจริงและเรื่อง แต่ง การนำเสนอความย้อนแย้ง และการทวนวิเคราะห์ประวัติศาสตร์เอกภาพ ผลการศึกษาแสดงให้ตระหนักว่ากระบวนการวิพากษ์แนวหลังนวนิยมนั้นสามารถจาระไนลักษณะอันแท้ของมนุษย์ได้ แม้ว่าโดยปกติของทฤษฎีวิพากษ์แนวนี้จะมีความลวงของความคิดและจินตนาการที่ท้าทายความเข้าใจและอภิเชษฐ์ของผู้อ่านอยู่บ้าง
บทความนี้นำเสนอมุมมองแนวหลังนวนิยมจากการศึกษานวนิยายเรื่อง ชินด์เลัอร์ส ลิสต์ ประพันธ์โดย โธมัส เคนนีลลีย์ ซึ่งได้ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1982 แม้ว่านวนิยายเรื่องนี้จะไม่ถูกจัดให้เป็นงานเขียนแนวหลังนวนิยมก็ตาม หากแต่ก็มี เนื้อหา น้ำเสียง และจิตวิญญาณของกระบวนการเคลื่อนไหวแนวหลังนวนิยมอยู่ไม่น้อย การศึกษาครั้งนี้ ได้นำเสนอและอภิปรายลักษณะของงานเขียนแนวหลังนวนิยม สามลักษณะที่พบในนวนิยายเรื่องนี้ ได้แก่ ความผสมกลมกลืนของเรื่องจริงและเรื่อง แต่ง การนำเสนอความย้อนแย้ง และการทวนวิเคราะห์ประวัติศาสตร์เอกภาพ ผลการศึกษาแสดงให้ตระหนักว่ากระบวนการวิพากษ์แนวหลังนวนิยมนั้นสามารถจาระไนลักษณะอันแท้ของมนุษย์ได้ แม้ว่าโดยปกติของทฤษฎีวิพากษ์แนวนี้จะมีความลวงของความคิดและจินตนาการที่ท้าทายความเข้าใจและอภิเชษฐ์ของผู้อ่านอยู่บ้าง