Publication: การทดลองจัดการเรียนการสอนเชิงรุกในรายวิชาการอ่านภาษาญี่ปุ่นขั้นสูง
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ
Manutsayasat Wichakan
Manutsayasat Wichakan
Volume
28
Issue
2
Edition
Start Page
311
End Page
357
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การทดลองจัดการเรียนการสอนเชิงรุกในรายวิชาการอ่านภาษาญี่ปุ่นขั้นสูง
Alternative Title(s)
The implementation of Active Learning in an Advanced Japanese Reading Class
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการทดลองจัดการเรียนการสอนเชิงรุกในรายวิชาการอ่านภาษาญี่ปุ่นขั้นสูง ผลการศึกษาพบว่าด้านกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน ในภาพรวมผู้เรียนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด โดยเฉพาะในประเด็นที่ว่ารูปแบบการเรียนการสอน 1. ช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการคิด ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น 2. ส่งเสริมให้นิสิตใช้ทักษะที่หลากหลาย ทั้งฟัง พูด อ่าน เขียน และการคิด 3. กระตุ้นให้นิสิตมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียน และ 4. ฝึกฝนให้นิสิตยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สำหรับคุณลักษณะของครูผู้สอน พบว่าผู้เรียนเห็นด้วยมากที่สุดในทุกประเด็น โดยให้คะแนนเต็มในด้านความรู้ ความสามารถในการสอน และความพร้อมในการสอน สำหรับผลลัพธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานการเรียนรู้ 5 ด้าน ผู้เรียนประเมินว่าได้รับครบทุกด้านในระดับมากขึ้นไป ผลการศึกษาสามารถสรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอนเชิงรุกในรายวิชา “การอ่านและอภิปรายภาษาญี่ปุ่น” ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ยอมรับ และให้การสนับสนุนรูปแบบการเรียนการสอนดังกล่าว