Publication: Comparison of Factors Influencing Thai Students Choices of a Minor Subject Between Japanese and Chinese
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2014
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Panyapiwat Journal
วารสารปัญญาภิวัฒน์
วารสารปัญญาภิวัฒน์
Volume
5
Issue
พิเศษ
Edition
Start Page
1
End Page
12
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Comparison of Factors Influencing Thai Students Choices of a Minor Subject Between Japanese and Chinese
Alternative Title(s)
การเปรียบเทียบปัจจัยที่ทำให้นักศึกษาไทยเลือกเรียนเป็นวิชาโท ระหว่างวิชาภาษาญี่ปุ่นกับภาษาจีน
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
The purpose of this study was to explore and compare the different factors influencing students? choice of a minor subject between Japanese and Chinese. 124 second-year Thai students at Panyapiwat Institute of Management participated in the study. This study was a quantitative type of research and the major research tool was a questionnaire administered during class time. Factor analysis was implemented. Moreover, each factor was categorized into 5 regulations, and these 5 regulations were classified into intrinsic or extrinsic motivation patterns. It was found that learners were more motivated to take Chinese by intrinsic reasons than learners who chose Japanese. On the contrary, Japanese learners were more motivated by instrumental reasons than Chinese learners. Furthermore, this study revealed that Japanese learners thought it was more difficult to learn Japanese and obtain a good grade than their Chinese counterparts.
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของนัก ศึกษาไทยที่เลือกเรียนระหว่างวิชาภาษาญี่ปุ่นและวิชาภาษาจีนเป็นวิชาโท กลุ่มประชากรประกอบด้วยนักศึกษาจำนวน 124 คน ที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ เครื่องมือหลักในการวิจัยเชิงปริมาณนี้ คือ แบบสอบถามที่ใช้ในระหว่างการเรียนการสอนและการใช้การวิเคราะห์ปัจจัย นอกจากนี้ ยังมีการจัดประเภทปัจจัยแต่ละตัวให้อยู่ในข้อกำหนด 5 ประการ ตามรูปแบบการกระตุ้นภายในหรือภายนอก ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ทำให้นักศึกษาไทยเลือกเรียนภาษาจีนมากกว่าภาษาญี่ปุ่น คือ แรงจูงใจภายใน ในขณะที่นักศึกษาไทยที่เลือกเรียนวิชาภาษาญี่ปุ่นเลือกด้วยแรงจูงใจเชิง สังคม ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีผลการวิจัยอีกประการหนึ่งว่า กลุ่มผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นเชื่อว่าการเรียนภาษาญี่ปุ่น และการบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาญี่ปุ่นนั้นยากกว่าเมื่อเทียบกับการ เรียนภาษาจีน
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของนัก ศึกษาไทยที่เลือกเรียนระหว่างวิชาภาษาญี่ปุ่นและวิชาภาษาจีนเป็นวิชาโท กลุ่มประชากรประกอบด้วยนักศึกษาจำนวน 124 คน ที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ เครื่องมือหลักในการวิจัยเชิงปริมาณนี้ คือ แบบสอบถามที่ใช้ในระหว่างการเรียนการสอนและการใช้การวิเคราะห์ปัจจัย นอกจากนี้ ยังมีการจัดประเภทปัจจัยแต่ละตัวให้อยู่ในข้อกำหนด 5 ประการ ตามรูปแบบการกระตุ้นภายในหรือภายนอก ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ทำให้นักศึกษาไทยเลือกเรียนภาษาจีนมากกว่าภาษาญี่ปุ่น คือ แรงจูงใจภายใน ในขณะที่นักศึกษาไทยที่เลือกเรียนวิชาภาษาญี่ปุ่นเลือกด้วยแรงจูงใจเชิง สังคม ยิ่งไปกว่านั้น ยังมีผลการวิจัยอีกประการหนึ่งว่า กลุ่มผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นเชื่อว่าการเรียนภาษาญี่ปุ่น และการบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการเรียนภาษาญี่ปุ่นนั้นยากกว่าเมื่อเทียบกับการ เรียนภาษาจีน