Publication: การพัฒนาระบบตรวจสอบรายชื่อเข้าชั้นเรียนนิสิต กรณีศึกษาคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยีประยุกต์
Volume
3
Issue
1
Edition
Start Page
22
End Page
34
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การพัฒนาระบบตรวจสอบรายชื่อเข้าชั้นเรียนนิสิต กรณีศึกษาคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การตรวจสอบรายชื่อเข้าชั้นเรียนมีส่วนช่วยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อาจารย์และนิสิต ซึ่งมีประโยชน์ตามมาอีกหลายอย่าง เช่น การ กระตุ้นการเข้า ชั้นเรียน การให้คะแนนพฤติกรรม และทำาให้สมาชิกในชั้นเรียนรู้จักกันมากขึ้น การตรวจสอบรายชื่อในชั้นเรียนถึงแม้จะมีประโยชน์ แต่ทำาให้เสียเวลาในการ เรียนการสอน โดยเฉพาะการตรวจสอบรายชื่อในชั้นเรียนที่มีนิสิตจำานวนมาก เช่นในรายวิชาศึกษาทั่วไป และวิชาพื้นฐาน การตรวจสอบรายชื่อของอาจารย์ ในปัจจุบันบันทึกด้วยกระดาษทำาให้เกิดความล่าช้าในการประมวลผล อาจเกิดการสูญหาย หรือเสื่อมสภาพ นิสิตไม่สามารถตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน ของตนเองได้ ในการวิจัยนี้จึงมีแนวคิดในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วย ในการตรวจสอบรายชื่อเข้าเรียนของนิสิตคณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น โดยในการ วิจัยนี้ได้จัดทำาระบบเพื่อให้อาจารย์สามารถทำาการตรวจสอบรายชื่อนิสิตใน ชั้นเรียน โดยจัดทำาในรูปแบบโปรแกรมเว็บแบบปรับตัว ซึ่งมีคำาสั่งสำาหรับ กำาหนดรูปแบบการตรวจสอบรายชื่อไว้ 2 รูปแบบ คือ 1) นิสิตตรวจสอบรายชื่อ ด้วยตนเองโดยใช้สมาร์ทโฟน 2) อาจารย์เป็นผู้ตรวจสอบรายชื่อนิสิต ซึ่งแบบที่สองจะช่วยตรวจสอบรายชื่อนิสิตที่ไม่มีสมาร์ทโฟนหรือเข้าใช้อินเทอร์เน็ต ไม่ได้ ระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถทางสถิติของการเข้าชั้นเรียนในรูปแบบตัวเลข และกราฟ ในการวัดความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบโดยใช้แบบสอบถาม มาตร วัดความพึงพอใจ 5 ระดับ ผลการวิจัยพบว่า อาจารย์มีความพึงพอใจต่อระบบ อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด โดยมีค่าความพึงพอใจเฉลี่ย 4.26 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.76 สำาหรับนิสิตพบว่ามีความพึงพอใจในระดับพอใจมาก โดยมี ค่าความพึงพอใจเฉลี่ย 4.12 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.79