Publication:
การเขียนข้อความที่เป็นจุดหักมุมของเรื่องขำขัน

dc.contributor.authorชริโศภณ อินทาปัจ
dc.contributor.authorCharisophon Inthaphaten
dc.date.accessioned2023-12-16T14:42:59Z
dc.date.available2023-12-16T14:42:59Z
dc.date.issued2005
dc.date.issuedBE2548
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งหมายที่จะศึกษาว่านักศึกษาเขียนจุดหักมุมของเรื่องขำขันอย่างไร เรื่องขำขันที่ใช้ใน การศึกษานี้คัดเลือกมาจากอินเตอร์เน็ตตามเกณฑ์ที่กำหนดเกี่ยวกับความยาวของเรื่องขำขัน บริบท ของเนื่อเรื่อง ความซับซ้อนทางภาษา ความหลากหลายของเรื่องราวและสถานการณ์ กลุ่มประชากร ตัวอย่างในการวิจัยนี้เป็นนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรีจำนวน 8 คน จากสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุและวิศวกรรมไฟฟ้า กลุ่มประชากรตัวอย่างใช้เวลาในการเขียนจุดหักมุมของเรื่องขำขันด้วยตนเองรวมทั้งหมด 15 เรื่อง โดยเขียนสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 3 เรื่อง เมื่อเสร็จสิ้นการเขียนจุดหักมุมทุกๆ 3 เรื่อง กลุ่มประชากร ตัวอย่างจะได้รับการสัมภาษณ์วิธีเขียนจุดหักมุมของเรื่องขำขัน ผลการวิจัยระบุว่ากลุ่มประชากร ประสบปัญหาจากความยาวของเรื่องขำขัน ความไม่คุ้นเคยกับเนื้อเรื่อง ขาดความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์ และความคิดเชิงสร้างสรรค์ในการเขียน อย่างไรก็ตามกลุ่มประชากรมีวิธีในการแก้ไขปัญหาในการ เขียนจุดหักมุมของเรื่องขำขันโดยการอ่านเรื่องซ้ำ เชื่อมโยงเนื้อเรื่องเข้ากับประสบการณ์ตรงของ ตัวเองเพื่อทำความเข้าใจเนื้อเรื่อง สร้างจินตภาพจากเรื่องที่อ่าน แปลเป็นภาษาไทย นำตนเอง เข้าไปสู่สถานการณ์และใช้คำสำคัญในเรื่องขำขัน ผลงานของกลุ่มประชากรได้รับการประเมิน คุณภาพโดยผู้ประเมิน 3 คน ซึ่งเป็นผู้ศึกษาในหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์ ประยุกต์ด้านการสอนภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จุดหักมุมที่เขียนจะ ถูกจัดอันดับให้เป็นเรื่องที่อยู่ในเกณฑ์ดีจนถึงยังไม่อยู่เกณฑ์ที่ดีโดยคำนึงถึง ความต่อเนื่องของ เนื้อหากับจุดหักมุมของเรื่อง การสื่อความหมาย ความคิดสร้างสรรค์และความขำขัน งานวิจัยนี้
dc.description.abstractThis study intends to investigate how students write punchlines for jokes to know their management to create own punchlines. The jokes in this study were selected from the Internet according to certain criteria concerning the length of jokes, joke contexts, language complexity and variety of topics and situations. The subjects of this study were eight students from the Faculty of Engineering at King Mongkut’s University of Technology Thonburi. They were from the Department of Tool and Materials Engineering and the Department of Electrical Engineering. The subjects were requested to write punchlines of 15 jokes. They were asked to spend 3 days a week and write 3 punchlines a day. When they finished each 3 jokes, the subjects were interviewed how they wrote their own punchlines. It is found that the subjects had difficulties caused by inappropriate length of jokes, unfamiliarity with jokes, insufficient language ability and lack of creative idea in writing. However, they had their techniques to manage difficulties by using re-reading, connecting jokes with their own experiences, imagining the scenes of jokes, translating, putting themselves in the situation in the jokes and using keywords. Due to these techniques, the subjects’ works were evaluated by 3 raters who were studying in Master of Arts in Applied Linguistics for English Language Teaching (ELT) at King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT) ranging from the best to the worst punchlines with reference to relevance, communication, creativity and fun. Then, the benefits of using jokes for language teaching and writing practice were discussed with points to consider and recommendations for further study were finally given.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/8960
dc.language.isoth
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. คณะศิลปศาสตร์. สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ด้านการสอนภาษาอังกฤษ
dc.publisher.placeกรุงเทพมหานคร
dc.subjectเรื่องขำขัน
dc.subjectอารมณ์ขัน
dc.subjectจุดหักมุมของเรื่องขำขัน
dc.subjectกระบวนการเขียน
dc.subjectความยากและการจัดการในการเขียนจุดหักมุม
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์
dc.subjectJokes
dc.subjectHumour
dc.subjectPunchlines
dc.subjectWriting Process
dc.subjectDifficulties And Management Of Writing Punchlines
dc.subjectCreative Ideas
dc.subject.contentCoverageTHA - ไทย
dc.subject.isced0231 การเรียนภาษา
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.titleการเขียนข้อความที่เป็นจุดหักมุมของเรื่องขำขัน
dc.title.alternativeWriting Punchlines for Jokesen
dc.typeวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท (Master Thesis)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID262
harrt.researchAreaภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Linguistics)
harrt.researchGroupภาษาศาสตร์
harrt.researchTheme.1วัจนปฏิบัติศาสตร์/ปริจเฉทวิเคราะห์/วาทกรรมวิเคราะห์ (Pragmatics/Discourse Analysis)
mods.location.urlhttps://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=52434
thesis.degree.departmentคณะศิลปศาสตร์
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Files