Publication: การวิเคราะห์แบบ RFM ในการแบ่งกลุ่มผู้ใช้งานเครื่องพิมพ์และเครื่องถ่ายเอกสารในองค์กร กรณีศึกษาสำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2730-3764
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารวิชาการ การจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
Volume
5
Issue
1
Edition
Start Page
21
End Page
28
Access Rights
Access Status
Rights
Copyright (c) 2018 วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การวิเคราะห์แบบ RFM ในการแบ่งกลุ่มผู้ใช้งานเครื่องพิมพ์และเครื่องถ่ายเอกสารในองค์กร กรณีศึกษาสำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการค้นหาความรู้จากการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดกลุ่มผู้ใช้งานเครื่องพิมพ์และเครื่องถ่ายเอกสารในองค์กร โดยการทำเหมืองข้อมูลด้วยวิธีการจัดกลุ่ม ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ การพิมพ์งานด้วยเครื่องพิมพ์ การพิมพ์งานด้วยเครื่องถ่ายเอกสาร และการถ่ายเอกสาร งานวิจัยนี้นำเสนอวิธีในการแบ่งกลุ่มผู้ใช้ตามพฤติกรรมการใช้งานเครื่องพิมพ์และเครื่องถ่ายเอกสารด้วยแบบจำลอง Recency, Frequency and Monetary หรือ RFM ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยเป็นข้อมูลการใช้งานเครื่องพิมพ์และเครื่องถ่ายเอกสารของบุคลากรสำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จำนวน 84,764 รายการ ตั้งแต่ปี 2554-2559 ผู้ใช้งานทั้งหมด 78 คน วิเคราะห์ด้วย RapidMiner Studio 7.4 ผลจากการวิจัยพบว่าสามารถแบ่งกลุ่มผู้ใช้ตามพฤติกรรมการใช้งานเครื่องพิมพ์และเครื่องถ่ายเอกสารออกเป็น 14 กลุ่มได้อย่างชัดเจน โดยกลุ่มที่น่าสนใจ คือ กลุ่มที่มีความถี่ในการใช้บ่อยและมีปริมาณใช้งานมาก จำนวน 15 คน จากผลการวิจัยทำให้ทราบรูปแบบการใช้งานและนำผลไปใช้ในการตรวจสอบพฤติกรรมการใช้งานเครื่องพิมพ์และเครื่องถ่ายเอกสารของบุคลากรว่ามีการใช้งานที่มีความสอดคล้องกับงานที่ทำอยู่หรือไม่เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่าย ผลการวิจัยดังกล่าวเมื่อนำมาตรวจสอบไม่พบความผิดปกติในการใช้งานเนื่องจากกลุ่มผู้ใช้ในกลุ่มดังกล่าวเป็นเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบทำงานงานด้านเอกสาร นอกจากนี้ยังพบว่าพฤติกรรมของบุคลากรในการพิมพ์เอกสารส่วนใหญ่นิยมพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์มากกว่าการพิมพ์ทางเครื่องถ่ายเอกสาร