Publication: การศึกษาการใช้คำปรากฏร่วมของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นในภาคใต้
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม
Journal of Language, Religion and Culture
Journal of Language, Religion and Culture
Volume
10
Issue
2
Edition
Start Page
139
End Page
173
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การศึกษาการใช้คำปรากฏร่วมของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นในภาคใต้
Alternative Title(s)
A Study of Japanese Collocation by Japanese Major Students in Southern Thailand
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้คำปรากฏร่วมรวมถึงปัญหาการใช้คำปรากฏร่วมของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นในภาคใต้ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นที่กำลังศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีและมหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา ชั้นปีที่ 3-5 จำนวน 108 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบการใช้คำปรากฏร่วมในรูปแบบของคำนามกับคำกริยา(คำนาม+を+คำกริยา)ที่คัดเลือกมาจากตำราเรียน Minna no Nihongo และ Genki
ผลการศึกษา พบว่า 1) กรณีให้เขียนคำกริยาที่ปรากฏร่วมกับคำนาม ข้อคำถามที่กลุ่มตัวอย่างตอบถูกมากกว่าร้อยละ 80 ได้แก่「薬を飲む」(กินยา)「シャワーを浴びる」( อาบน้ำ) 「歌を歌う」(ร้องเพลง) และ「写真を撮る」 (ถ่ายรูป) 2) กรณีให้เลือกตอบคำกริยาจากตัวเลือกที่กำหนดให้ ข้อคำถามที่กลุ่มตัวอย่างเลือกตอบถูกมากกว่าร้อยละ 80 ได้แก่「 着物を着る」(สวมกิโมโน) และ「夢を見る」(ฝัน)「絵を描く」(วาดภาพ)「 帽子をかぶる」(สวมหมวก) และ 3) กรณีให้เลือกเติมคำกริยาหลายความหมายที่ปรากฏคู่กับคำนามที่กำหนดให้ ข้อคำถามที่กลุ่มตัวอย่างเลือกตอบถูกมากกว่าร้อยละ 80 ได้แก่「スポーツをする 」(เล่นกีฬา)「デートをする」(ออกเดท) และ「買い物をする」 (ซื้อของ)「ギターをひく」(เล่น/ดีดกีตาร์)「エアコンをつける」(เปิดแอร์)
ส่วนปัญหาการใช้คำปรากฏร่วมของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ 1) ปัญหาการใช้คำปรากฏร่วมกรณีต้องเลือกคำกริยาที่มีหลายความหมาย เช่น「ひく」「する」「つく」2) ปัญหาการใช้คำปรากฏร่วมที่มีความหมายใกล้เคียงภาษาไทย เช่น「ごみを出す」กับ「ごみを捨てる」(ทิ้งขยะ) และ「熱を出す」กับ「熱がある」(เป็นไข้/มีไข้) 3) ปัญหาการใช้คำปรากฏร่วมที่กลุ่มตัวอย่างไม่มั่นใจในการเลือกใช้คำกริยา เช่น「パーマをかける 」กับ「パーマをする 」(ดัดผม) และ「コピーをとる」กับ「コピーをする 」(ถ่ายเอกสาร)
นอกจากนี้ ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางการสอนคำปรากฏร่วมภาษาญี่ปุ่นเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นแก่ผู้เรียนชาวไทยต่อไป