Publication: Les images des ténèbres dans l’oeuvre poétique de Charles Baudelaire
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2015
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
fr
File Type
No. of Pages/File Size
138
ISBN
ISSN
eISSN
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Les images des ténèbres dans l’oeuvre poétique de Charles Baudelaire
Alternative Title(s)
ภาพลักษณ์ของห้วงอนธการในกวีนิพนธ์ของชาร์ลส์ โบดแลร์
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
Dans Les Fleurs du Mal, Le Spleen de Paris et la poésie de jeunesse, Charles Baudelaire applique à plusieurs reprises la représentation des ténèbres telle qu’un élément symbolique. L’auteur illustre les images des ténèbres alternativement avec les valeurs reçues et ses revalorisations subversives. L’objectif de cette recherche est d’étudier ces images différentes et d’entreprendre leur association d’idées, qui structure le monde imaginaire de Charles Baudelaire. Cette étude se divise en 3 parties. La première se concentre sur l’analyse des thèmes qui représentent les ténèbres et leurs valeurs subversives. La deuxième concerne l’aspect sémantique sur les différentes images des ténèbres dans le texte. La dernière vise à étudier leur interrelation qui forme le mythe personnel ou l’univers imaginaire du poète. Le résultat de ces études montre que les différentes images des ténèbres relient aux idées de désirs, commodités, angoisses et de châtiments, et qu’elles reflètent les fonctions psychologiques comprenant la création, la destruction, l’union et la séparation. Ces associations affermissent la thématique baudelairienne. Cette recherche révèle aussi que l’univers imaginaire de Baudelaire, dans lequel celui-ci définit de nouveau le moi et le monde, est basé sur ces images des ténèbres.
ในผลงานรวมเล่มกวีนิพนธ์ Les Fleurs du Mal, Le Spleen de Paris และบทกวีอื่นๆ ที่ปรากฏใน la poésie de jeunesse ชาร์ลส์ โบดแลร์นำเสนอภาพของห้วงอนธการที่มีความหมายเชิงสัญลักษณ์ ซึ่งปรับเปลี่ยนไปตามแก่นเรื่องและบริบท การศึกษาภาพลักษณ์ที่แตกต่างกันของห้วงอนธการและสัมพันธภาพทางความหมายอันเป็นองค์ประกอบในการสร้างจินตภาพส่วนบุคคล จึงเป็นประเด็นศึกษาสำคัญของงานวิทยานิพนธ์เล่มนี้ การศึกษาแบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกกล่าวถึง ภาพแทนของห้วงอนธการในแก่นเรื่อง ซึ่งผู้ประพันธ์ได้ให้ความหมายต่างไปจากการตีความตามขนบ ส่วนที่ 2 เป็นการวิเคราะห์ภาพลักษณ์ต่างๆของห้วงอนธการตามทัศนะของผู้ประพันธ์ ผ่านการเชื่อมโยงนัยยะจากคำศัพท์ ส่วนสุดท้ายศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ที่แตกต่างกันของห้วงอนธการ ในฐานะจินตภาพองค์รวมของผู้ประพันธ์ จากการศึกษาพบว่า จินตภาพของห้วงอนธการในงานกวีนิพนธ์ของชาร์ลส์ โบดแลร์มีลักษณะสำคัญ 4 ประการ คือสะท้อนภาพสิ่งที่ผู้ประพันธ์ปรารถนา สภาวะผ่อนคลาย ความหวาดระแวงต่อการเผชิญหน้ากับโลกภายนอก และความกลัวที่จะถูกลงโทษ อีกทั้งยังมีความหมายเชิงจิตวิทยาอันสอดคล้องกับ การสร้างสรรค์ การทำลาย การหลอมรวม และการแบ่งแยก การเชื่อมโยงดังกล่าวเผยให้เห็นว่า จินตภาพของห้วงอนธการเป็นสัญลักษณ์สนับสนุนแก่นเรื่อง และเป็นแกนกลางของโลกที่ชาร์ลส์ โบดแลร์สรรสร้างในบทกวี
ในผลงานรวมเล่มกวีนิพนธ์ Les Fleurs du Mal, Le Spleen de Paris และบทกวีอื่นๆ ที่ปรากฏใน la poésie de jeunesse ชาร์ลส์ โบดแลร์นำเสนอภาพของห้วงอนธการที่มีความหมายเชิงสัญลักษณ์ ซึ่งปรับเปลี่ยนไปตามแก่นเรื่องและบริบท การศึกษาภาพลักษณ์ที่แตกต่างกันของห้วงอนธการและสัมพันธภาพทางความหมายอันเป็นองค์ประกอบในการสร้างจินตภาพส่วนบุคคล จึงเป็นประเด็นศึกษาสำคัญของงานวิทยานิพนธ์เล่มนี้ การศึกษาแบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกกล่าวถึง ภาพแทนของห้วงอนธการในแก่นเรื่อง ซึ่งผู้ประพันธ์ได้ให้ความหมายต่างไปจากการตีความตามขนบ ส่วนที่ 2 เป็นการวิเคราะห์ภาพลักษณ์ต่างๆของห้วงอนธการตามทัศนะของผู้ประพันธ์ ผ่านการเชื่อมโยงนัยยะจากคำศัพท์ ส่วนสุดท้ายศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ที่แตกต่างกันของห้วงอนธการ ในฐานะจินตภาพองค์รวมของผู้ประพันธ์ จากการศึกษาพบว่า จินตภาพของห้วงอนธการในงานกวีนิพนธ์ของชาร์ลส์ โบดแลร์มีลักษณะสำคัญ 4 ประการ คือสะท้อนภาพสิ่งที่ผู้ประพันธ์ปรารถนา สภาวะผ่อนคลาย ความหวาดระแวงต่อการเผชิญหน้ากับโลกภายนอก และความกลัวที่จะถูกลงโทษ อีกทั้งยังมีความหมายเชิงจิตวิทยาอันสอดคล้องกับ การสร้างสรรค์ การทำลาย การหลอมรวม และการแบ่งแยก การเชื่อมโยงดังกล่าวเผยให้เห็นว่า จินตภาพของห้วงอนธการเป็นสัญลักษณ์สนับสนุนแก่นเรื่อง และเป็นแกนกลางของโลกที่ชาร์ลส์ โบดแลร์สรรสร้างในบทกวี
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะอักษรศาสตร์
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย