Publication:
พระยายมในมิติทางโหราศาสตร์และพระพุทธศาสนา

dc.contributor.authorจํานง คันธิก
dc.contributor.authorKanthik, Chamnongen
dc.date.accessioned2023-12-15T10:11:03Z
dc.date.available2023-12-15T10:11:03Z
dc.date.issued2016
dc.date.issuedBE2559
dc.description.abstractบทความวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาเทียบเคียงมฤตยูที่ปรากฏใน วิชาโหราศาสตร์และหลักธรรมในพระไตรปิฎก และได้ประมวลความรู้เรื่องดวงดาว ในทางดาราศาสตร์และโยงมาถึงโหราศาสตร์ นักดาราศาสตร์บางท่านได้กล่าวว่า ดาราศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งไม่เกี่ยวกับโหราศาสตร์ แต่นักโหราศาสตร์ ถือว่าดวงดาวในท้องฟ้ามีอิทธิพลเกี่ยวโยงมาถึงชีวิตมนุษย์และการทํานายอดีต และอนาคตจึงไม่สามารถแยกจากดวงดาวได้ เมื่อทางโหราศาสตร์ได้มีการเพิ่ม ความหมายและอิทธิพลบางอย่างที่ดาราศาสตร์ไม่มี โดยเฉพาะดาวมฤตยูนั้นในทางโหราศาสตร์มีคําทํานายไปในทางเปลี่ยนแปลงซึ่งส่วนมากจะหมายถึง ความตาย ความล่มจมวิบัติ และเคราะห์ร้าย ในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มฤตยูคือ พระยายมหรือมัจจุราชนั่นเอง ผลการศึกษาพบว่า พระยายม มฤตยู หรือมัจจุราช ก็ล้วนให้ความหมาย เหมือนกันคือความตายหรือผู้พรากชีวิต เมื่อพระยายมมาถึงหรือมฤตยูโคจรก็เชื่อกันว่าความตายจะมาเยือน คนที่ถูกทํานายจะมีความรู้สึกกลัวดาวมฤตยูโดยปริยายเพราะความตายเป็นธรรมคู่ชีวิตคือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ไม่มีใครหลีกพ้นได้ ในคัมภีร์พระไตรปิฎกก็ได้บรรยายถึงเรื่องของพระยายมและความตายไว้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะในเทวทูตสูตร รวมถึงพระพุทธพจน์ที่ตรัสชี้ทางให้ข้ามพ้นจาก พระยายมหรือมฤตยูโคจรด้วยการยอมรับความจริงและประกอบกุศลให้มากขึ้น เผื่อว่าหลังตายแล้วจะได้ไปสู่ภพภูมิที่ดีตามกําลังของกุศล และวิธีที่หนีความตายได้เด็ดขาดคือ การกําจัดอุปาทาน ความยึดมั่นตัวตนซึ่งเข้าถึงความไม่เกิดอีก จะไม่ตายอีก จึงไม่พบกับมฤตยูเป็นนิรันดร์กาล
dc.description.abstractThis academic article has as its objective a comparative study of Mrityū in the Horāshastra and also in the Tipitaka's teaching, and examines the knowledge of astronomy and its links to astrology. Some astronomers say that astronomy is a branch of science that is unrelated to astrology. But astrologers consider that the stars in the sky influence on human lives, and forecasting the past and future could not exclude the stars. Moreover, Astrology has more meaning and influence that does not appear in astronomy, especially Mrityū, the star that is a harbinger of change and usually means death, disaster and misfortune. In the Buddhist teachings, Mrityū is Yama or Maccu Rāja.en
dc.identifier.issn2730-4170
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/2374
dc.language.isoth
dc.subjectYama
dc.subjectMrityū
dc.subjectTripiṭaka
dc.subjectAstrology
dc.subject.isced0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.titleพระยายมในมิติทางโหราศาสตร์และพระพุทธศาสนา
dc.title.alternativeYama in the Aspects of Astrology and Buddhismen
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID257
harrt.researchAreaวรรณกรรม/วรรณคดีบาลีและสันสกฤต
harrt.researchGroupบาลีและสันสกฤต
harrt.researchTheme.1วิเคราะห์วรรณกรรม/วรรณคดี
harrt.researchTheme.2วรรณกรรม/วรรณคดีศาสนา
mods.location.urlhttps://so03.tci-thaijo.org/index.php/jis/article/view/114511
oaire.citation.endPage109
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage91
oaire.citation.titleวารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
oaire.citation.volume6
Files